SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
อันตรายและการควบคุมจุลินทรีย์ในอากาศภายในโรงงานอุตสาหกรรม
ก.พ. 27th, 2016 by rungtiwa

อันตรายและการควบคุมจุลินทรีย์ในอากาศภายในโรงงานอุตสาหกรรม

Hazard and Control of Airborne Microorganisms in Industrial Plant

บทคัดย่อ:

ปัจจุบันจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในอากาศโดยเฉพาะอากาศในโรงงานอุตสาหกรรมได้รับความสนใจ มากขึ้น เนื่องจากในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานที่มีผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ซึ่งมีการใช้สารอินทรีย์อันเป็นปัจจัยที่ทำให้จุลินทีย์ที่ปนเปื้อนในอากาศสามารถเจริญเติบโตได้ดี และจุลินทรีย์ในอากาศโดยทั่วไปยังสามารถเกาะยึดกับฝุุ่นที่ลอยอยู่ในอากาศได้ การหายใจโดยนำจุลินทรีย์ที่เกาะบนฝุ่น ทำให้เกิดอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจได้มากกว่าการหายใจโดยนำเฉพาะฝุ่นหรือจุลินทรีย์เข้าไปอย่างเดียว บริเวณที่มีการปนเปื้อนของสารอินทรีย์ เช่น บริเวณกระบวนการผลิต บริเวณปล่อยและเก็บของเสีย และอยู่ในที่มีความชื้นสูง อับอากาศและมีการระบายอากาศไม่เพียงพอ จะพบแบคทีเรีย เชื้อรา และสารพิษของจุลินทรีย์ เช่น เอ็นโดท็อกซินหรือมายโคท็อกซินได้มาก ดังนั้นในที่ที่มีฝุ่นละอองปนเปื้นอนสูงก็ย่อมจะทำให้จุลินทรีย์สามารถเข้าสู่ร่างกายได้มากขึ้นด้วย การประเมินการสัมผัสเป็นสิ่งสำคัญที่บอกได้ว่าพนักงานที่สัมผัสกับจุลินทรีย์ในสถานที่ Read the rest of this entry »

คุณภาพชีวิตสตรีภายใต้ธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ก.พ. 26th, 2016 by rungtiwa

คุณภาพชีวิตสตรีภายใต้ธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

Quality of Life of Thai Women under the 2007 Constitution and Related Laws

บทคัดย่อ:

การศึกษาเรื่องคุณภาพชีวิตภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องเป็นงานวิจัยที่สนับสนุนโดยสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อศึกษาเจตนารมณ์และสาระในการพิทักษ์ ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิตสตรี ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 รวมถึงอนุสัญญาระหว่างประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 แผนพัฒนาสตรีของหน่วยงานภาครัฐและองค์กรเอกชนในระดับท้องถิ่น และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง Read the rest of this entry »

การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่าย ผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียว
ก.พ. 26th, 2016 by rungtiwa

การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่าย ผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียว

The Development of Discharge Planning Model for Medical Patients at Hua Chiew Hospital

บทคัดย่อ:

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป้วยอายุรกรรมและเพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบวางแผนจำหน่วยผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียววิธีดำเนินการวิจัย แบงเปน 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปญหาของผูปวย ครอบครัว และผูใหบริการขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหนาย ขั้นตอนที่ 3 การประเมินผลการนำรูปแบบวางแผนจำหนายไปใช ประชากรและกลุมตัวอยางประกอบดวย ผูปวยอายุรกรรมที่มีอายุมากกวา 56 ปโดย แบงออกเปน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มศึกษาจำนวน 30 ราย และกลุ่มเปรียบเทียบที่ไม่ได้รูปแบบวางแผนจำหน่าย จำนวน 140 ราย ครอบครัวของผูปวยที่เปนกลุมศึกษา และผูใหบริการ ซึ่งไดแก แพทยอายุรกรรม พยาบาลหัวหนาหอผูปวย พยาบาลที่ปฏิบัติงานประจำหอผูปวยสามัญหญิง หัวหนาฝายการพยาบาล และหัวหนาศูนยพัฒนาคุณภาพ นักกำหนดอาหาร นักกายภาพบำบัด เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ประกอบดวย 1) รายงานแบบประเมินและแบบบันทึกขอมูลจากผูปวย และ 2) เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมปัญหาการวางแผนจำหน่ายจากญาติและครอบครัวผู้ป่วย รวมทั้งจากผู้ให้บริการการวิเคราะห์ขอมูล รายงานสถิติตาง ๆ ดวยคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคารักษาพยาบาลและวันนอนโรงพยาบาล ขอมูลที่ไดจากญาติและครอบครัวผูปวยและผูใหบริการดวยการวิเคราะหเนื้อหา ระดับและคะแนนความเสี่ยงในการดูแลตอเนื่องหลังจำหนายวิเคราะหดวยไคสแคว เปรียบเทียบผูปวยที่นำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปใชกับกลุมผูปวยที่ใชรูปแบบเดิมดวย t-test ไดรูปแบบวางแผนจำหนายพื้นฐานหลักการของ A-B-C และกระบวนการพยาบาลแบงออกไดเปน 3 ขั้นตอน คือ 2.1) ขั้นการประเมินความเสี่ยงและความตองการการดูแลของผูปวยหลังจำหนาย 10 ดาน คือ 1) อายุ 2) ความเปนอยู/แรงสนับสนุนทางสังคม 3) ระดับสติปญญาและการรับรูนึกคิด 4) การเคลื่อนไหว 5) ขอจำกัดเกี่ยวกับประสาทสัมผัส 6) ประวัติการเจ็บปวยการนอนโรงพยาบาล/การเขาหองฉุกเฉินในชวง 3 เดือนที่ผ่านมา 7) จำนวนยาที่รับประทาน 8) จำนวนปัญหาโรคที่เป็นอยู่ 9) แบบแผนพฤติกรรม Read the rest of this entry »

การศึกษาการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้านเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ก.พ. 25th, 2016 by rungtiwa

การศึกษาการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้านเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง

A Study of Family-Centered Care to Prevent Complications at Home in Patients with Cerebrovascular Disease

บทคัดย่อ:

การศึกษาเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหา ความตองการและความคาดหวังการบริการสุขภาพที่สนับสนุนการดูแลผูปวยโรคหลอดเลือดสมองที่บาน และสังเคราะหแนวทางเบื้องตนในการปองกันการเกิดภาวะแทรกซอนโดยเนนครอบครัวเปนศูนยกลางตามการรับรูของผูปวย ครอบครัว และบุคลากรสาธารณสุข ผูใหขอมูลเลือกแบบเจาะจง ประกอบดวย 1) ครอบครัวที่มีผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง 8 ครอบครัว ผู้ป่วยจำนวน 2 ราย สมาชิกในครอบครัวที่เป็นผู้ดูแลหลัก 8 คน 2) บุคลากรสาธารณสุขจำนวน 10 คน โดยการสัมภาษณเจาะลึก การสังเกตแบบมีสวนรวม และไมมีสวนรวมวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหาภายใตการพิทักษสิทธิ์และจริยธรรมการวิจัย Read the rest of this entry »

ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหวางผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ…สูการมีสวนรวมด้านการดูแลสุขภาพ
ก.พ. 25th, 2016 by rungtiwa

ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหวางผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ…สูการมีสวนรวมด้านการดูแลสุขภาพ

Authority Relationship between Health Care Provider and Client to Participation in Self-Care for Health

บทคัดย่อ:

ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้และผู้ใช้บริการทางด้านสุขภาพในแนวคิดเชิงอุดมคติควรมีความเสมอภาคซึ่งกันและกัน หรือมีความเป็นหุ้นส่วน ตั้งแต่วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา วางแผน และปฏิบัติตามแผนจนถึงการประเมินผลร่วมกัน แต่กระบวนการหรือกิจกรรมเหล่านี้ไม่ได้ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจน แม้กระทั่งในปัจจุบัน ฐานะความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการยังคงมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่ไม่เป็นไปตามแนวคิดเชิงอุดมคติที่ควรจะเป็น สิ่งที่ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้และผู้ใช้บริการเป็นเช่นนั้น เมื่อพิจารณาจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของการดูแลสุขภาพ ประกอบด้วย วิวัฒนาการนโยบายการบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้าเชิงมิติสังคม ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างผู้ให้และผู้ใช้บริการด้านสุขภาพ และวาทกรรมกับการสร้างความเป็นผู้ให้และผู้ใช้บริการด้านสุขภาพ ซึ่งพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้และผู้ใช้บริการเป็นไปในลักษณะของการใช้อำนาจของผู้ที่มีฐานะทางสังคมดีกว่า จึงทำให้เป็นผู้ที่มีการคิดวิเคราะห์และตัดสินใจในการดำเนินการทางด้านสุขภาพโดยใช้ความคิดของตนเป็นหลักแต่เพียงผู้เดียวมากกว่าการฟังความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะจากผู้ใช้บริการ Read the rest of this entry »

การเพิ่มผลผลิตก๊าซชีวภาพจากกากตะกอนชีวภาพและการเตรียมชุดทดลองศึกษาศักยภาพการผลิตก๊าซชีวภาพ
ก.พ. 25th, 2016 by rungtiwa

การเพิ่มผลผลิตก๊าซชีวภาพจากกากตะกอนชีวภาพและการเตรียมชุดทดลองศึกษาศักยภาพการผลิตก๊าซชีวภาพ

Enhancement of biogas production from bio-sludge and batch experiment for biogas potential set-up

บทคัดย่อ

Anaerobic digestion is an efficient waste treatment and generates biogas. The producing biogas can be used for electricity and heat a generator. Biogas obtained from bio-sludge is an attempt to achieve the waste gain and minimization. The enhancement of biogas production from bio-sludge can be achieved by conducting of a treatment stage before or after anaerobic digestion. Thermal-alkaline condition at 170 C with pH 10 used ํ as a pre-treatment provided an improvement of 54% of biogas production while, athermal microwave showed an increase in 16% of biogas production. The important aspects to create a batch experiment on biogas potential from the waste include the homogeneity and analysis of the waste composition, which consists of total solids, volatile solids, total kjeldahl nitrogen, ammonium, lipids, COD, and pH. Volatile fatty acids evolution is recommended to monitor during the batch experiment for investigating the relation or inhibition effect on biogas production especially during the start-up period of the experiment. Nevertheless, considering of statistical and experimental control is also recommended for accuracy and reliability of the obtained results Read the rest of this entry »

ยาไฮบริด แนวทางใหม่ในการพัฒนายาต้านมาลาเรีย
ก.พ. 25th, 2016 by rungtiwa

ยาไฮบริด แนวทางใหม่ในการพัฒนายาต้านมาลาเรีย

Hybrid Drugs, A New Approach to Develop Antimalarial Drugs

บทคัดย่อ

ยาไฮบริด คือยาที่ไดนำเอาสวนออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา 2 ชนิดมารวมไวในโมเลกุลเดียวกัน วัตถุประสงคในการพัฒนายาไฮบริดนั้น ก็เพื่อที่จะเอาชนะปญหาการดื้อยาของเชื้อ ซึ่งเปนอุปสรรค ใหญของการบำบัดรักษาโรคติดเชื้อที่รายแรงอยางมีประสิทธิภาพ ในบทความนี้จะไดกลาวรวมถึง คุณลักษณะและโครงสรางทางเคมีของโมเลกุลยาไฮบริด โดยจะเนนตัวอยางการศึกษาพัฒนาตัวยาไฮบริด ใหมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อมาลาเรีย Plasmodium falciparum สายพันธุที่ดื้อยา ซึ่งผลจาก การศึกษาไดแสดงใหเห็นถึงความเปนไปไดในทางปฏิบัติของแนวคิดของยาไฮบริด และศักยภาพในการ พัฒนาและปรับปรุงสารตนแบบในกลุมนี้เพื่อใหเปนตัวยาสำหรับใชกับผูปวยไดในอนาคต Read the rest of this entry »

หลักกฎหมายห้ามย้อนหลังในประมวลกฎหมายอาญา
ก.พ. 25th, 2016 by rungtiwa

หลักกฎหมายห้ามย้อนหลังในประมวลกฎหมายอาญา

Ex post facto law in criminal code

บทคัดย่อ

หลักกฎหมายหามยอนหลังในทางอาญานี้เปนหลักนิติปรัชญาสากล มีตนกำเนิดมาจากภาษิต กฎหมายละตินวา Nullum crimen sine lege คือ ไมมีการกระทำความผิดหากไมมีกฎหมายกำหนด และ Nulla poena sine lege คือ บุคคลจะไมตองรับโทษหากไมมีกฎหมายกำหนดไว หลักกฎหมาย หามยอนหลังดังกลาวนี้หากเปนการยอนหลังในโทษทางอาญาถือเปนหลักกฎหมายเครงครัด ผูใช กฎหมายจะตีความเปนอยางอื่นนอกจากที่กฎหมายกำหนดไมได เวนแตกฎหมายที่ออกมาภายหลัง มีลักษณะเปนคุณแกผูกระทำความผิดยิ่งกวาและไมขัดหรือแยงกับรัฐธรรมนูญ ในรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกรไทย ั พทธศ ุ กราช ั 2550 หามม  ใหิ มการออกกฎหมายท ี มี่ โทษทางอาญาย ี อนหล  งอั นเป ั นผลร  าย แกผูกระทำความผิด แตถาเปนกฎหมายอื่นที่ไมใชโทษทางอาญายังคงมีความเห็นเปน 2 แนวทาง แนว ทางแรกมองวา กฎหมายไมสามารถออกยอนหลังอันเปนผลรายแกผูกระทำความผิดไดไมวากรณีใด ๆ อีก แนวทางหนึ่งมองวา เฉพาะกฎหมายที่มีโทษทางอาญาเทานั้นที่ไมสามารถยอนหลังอันเปนผลรายแก ผูกระทำความผิดได แตถาเปนกฎหมายอื่นที่ไมใชกฎหมายที่มีโทษทางอาญา ไมมีกฎเกณฑใดหามมิให กฎหมายนั้นมีผลยอนหลัง Read the rest of this entry »

การศึกษาการดูแลต่อเนื่องที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรก
ก.พ. 25th, 2016 by rungtiwa

การศึกษาการดูแลต่อเนื่องที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรก

The Study of Family-Centered Continuing Care in First Stroke Patients

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหา ความตองการและความคาดหวัง ตลอดจน สังเคราะหแนวทางเบื้องตนในการดูแลผูปวยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกอยางตอเนื่องที่เนนครอบครัว เปนศูนยกลาง โดยใชการวิจัยเชิงคุณภาพ ผูใหขอมูลคือ ผูปวยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกจำนวน 7 คน สมาชิกในครอบครัวผูปวยที่เปนผูดูแลหลักจำนวน 7 คน บุคลากรสุขภาพจำนวน 11 คน เก็บขอมูลระหวางเดือนกุมภาพันธ – ตุลาคม พ.ศ. 2550 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ แนวคำถามใน การสัมภาษณเจาะลึก การสังเกตแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวมและตัวผูวิจัย ความนาเชื่อถือของ เครื่องมือไดจากการตรวจสอบแบบสามเสาขอมูลจากเครื่องมือทุกสวน วิเคราะหขอมูลดวยการ วิเคราะหเชิงเนื้อหาภายใตการพิทักษสิทธิ์ผูถูกวิจัย Read the rest of this entry »

มาลาเรียกับการตรวจวินิจฉัยทางภูมิคุ้มกันวิทยา
ก.พ. 25th, 2016 by rungtiwa

มาลาเรียกับการตรวจวินิจฉัยทางภูมิคุ้มกันวิทยา

Malaria and Immunological Diagnosis

บทคัดย่อ

คณะผูวิจัยไดศึกษารวบรวมวิธีการวินิจฉัยโรคมาลาเรียดวยเทคนิคทางภูมิคุมกันวิทยา เพื่อ คนหาวิธีการตรวจวิเคราะหทางภูมิคุมกันวิทยาที่ดีและเหมาะสมในการตรวจวินิจฉัยโรคมาลาเรีย โดย การวิเคราะหขอมูลจากงานวิจัยตาง ๆ และมุงเนนเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธีการตรวจทาง ภูมิคุมกันวิทยาในดานความไว (sensitivity) และความจำเพาะ (specificity) ระหวางวิธี Indirect hemagglutination test (IHA), Indirect immunofluorescent antibody test (IFAT), Enzymelinked immunosorbent assay (ELISA) และ Immunochromatography (ICT) โดยใชวิธี microscopy หรือวิธีอื่นๆ ที่เปนวิธีมาตรฐาน พบวาวิธี ELISA ซึ่งใชในการตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgG, IgM และโปรตีนชนิด HRP2 มีความไวอยูในชวง 68.2-100% และความจำเพาะ 63.5-100% วิธี IFAT ที่ใชตรวจหา IgG มีความไวอยูในชวง 40.0-86.4% ความจำเพาะ 91.7-99.6% วิธี IHA ใชใน การตรวจหา IgG มีความไวอยูในชวง 82.0-91.0% สวนวิธี Immunochromatography ซึ่งตรวจ หาโปรตีนชนิด HRP2 และเอนไซม PLDH มีความไวอยูในชวง 49.7-100% และความจำเพาะ 73.8- 100% ในสวนคุณสมบัติของแตละวิธีพบวาวิธี IFAT และ ELISA เปนวิธีที่มีความไวและความจำเพาะ สูง แตตองใชเครื่องมือพิเศษและใชระยะเวลาในการตรวจนาน ตางจากวิธี IHA ซึ่งทำไดงาย แตคา ความไวและความจำเพาะต่ำ สวนวิธี ICT มีความสะดวก รวดเร็วและมีความไวสูง แตมีความจำเพาะ ต่ำและราคาแพง ดังนั้น จากผลการศึกษาจึงสรุปไดวา ทุกวิธีการมีทั้งขอดีและขอจำกัดแตกตางกัน การเลือกใชวิธีใดในการตรวจวินิจฉัยขึ้นอยูกับหลายปจจัย เชน ชนิดของเชื้อมาลาเรีย พื้นที่ จำนวน ผูปวยและงบประมาณ เปนตน Read the rest of this entry »

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa