SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
การศึกษาการดูแลต่อเนื่องที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรก
กุมภาพันธ์ 25th, 2016 by rungtiwa

การศึกษาการดูแลต่อเนื่องที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรก

The Study of Family-Centered Continuing Care in First Stroke Patients

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหา ความตองการและความคาดหวัง ตลอดจน สังเคราะหแนวทางเบื้องตนในการดูแลผูปวยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกอยางตอเนื่องที่เนนครอบครัว เปนศูนยกลาง โดยใชการวิจัยเชิงคุณภาพ ผูใหขอมูลคือ ผูปวยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกจำนวน 7 คน สมาชิกในครอบครัวผูปวยที่เปนผูดูแลหลักจำนวน 7 คน บุคลากรสุขภาพจำนวน 11 คน เก็บขอมูลระหวางเดือนกุมภาพันธ – ตุลาคม พ.ศ. 2550 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ แนวคำถามใน การสัมภาษณเจาะลึก การสังเกตแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวมและตัวผูวิจัย ความนาเชื่อถือของ เครื่องมือไดจากการตรวจสอบแบบสามเสาขอมูลจากเครื่องมือทุกสวน วิเคราะหขอมูลดวยการ วิเคราะหเชิงเนื้อหาภายใตการพิทักษสิทธิ์ผูถูกวิจัย

ผลการศึกพบว่า ปัญหา ความต้องการและความคาดหวังในการดูแลผู้ปวยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกอยางตอเนื่องที่เนนครอบครัวเปนศูนยกลางในระยะการวางแผนจำหนาย ระยะการสงตอ และ ระยะการดูแลที่บาน มีดังนี้ 1) ปญหาการดูแลในระยะการวางแผนจำหนายพบวา ครอบครัวไดรับ ขอมูลเพื่อเตรียมความพรอมในการดูแลผูปวยเมื่อกลับบานไมเพียงพอและไมไดมีสวนรวมในการดูแล ขณะที่ผูปวยอยูโรงพยาบาล ระยะการสงตอจะมีปญหาระบบบริการสุขภาพขาดการใหขอมูลไปยังหนวย งานที่เกี่ยวของ ไมมีผูประสานงานในการสงตอขอมูล สวนระยะการดูแลที่บาน พบวาขาดการเสริม พลังความเขมแข็งใหแกครอบครัวในการดูแลผูปวยเมื่อกลับบาน 2) ความตองการในการดูแลผูปวย โรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกอยางตอเนื่องที่เนนครอบครัวเปนศูนยกลางในระยะการวางแผนจำหนาย

จะเห็นวาผูปวยตองการการสนับสนุนชวยเหลือและกำลังใจจากครอบครัว สวนครอบครัวตองการขอมูล และไดลงมือปฏิบัติจริงในการเตรียมดูแลผูปวย ตองการใหผูปวยรวมมือในการดูแลและตองไดรับการ ปรับวิธีคิดเพื่อยอมรับเหตุการณที่เกิดขึ้น สวนระยะการสงตอของระบบบริการสุขภาพนั้นจะตองมีการ สงตอขอมูล จัดทีมประสานงานในการดูแลและรับผิดชอบ และระยะการดูแลที่บาน ผูปวยและครอบครัว ตองการให  สมาช  กสน ิ บสน ั นชุ วยเหล  อกื นในการด ั แลผ ู ปูวยและควรม  พยาบาลไปเย ี ยมบ ี่ าน 3) ความคาดหวงั ในการดูแลผูปวยโรคนี้ในระยะการวางแผนจำหนายนั้น ทั้งผูปวยและครอบครัวคาดหวังการดูแลรักษา ที่ดีที่ชวยใหผูปวยหายเปนปกติ โดยตองการการแพทยปจจุบันและการแพทยทางเลือก การฝกทำกาย ภาพบำบัด ตองการใหบุคลากรมาใหความรูและคำแนะนำในการดูแลผูปวย ระยะการสงตอนั้นระบบ บริการสุขภาพคาดหวังใหมีผูประสานงานในการสงตอขอมูลการดูแลอยางตอเนื่อง สวนระยะการดูแล ที่บาน ผูปวยและครอบครัวคาดหวังใหมีพยาบาลเยี่ยมบานและครอบครัวรวมกันชวยเหลือใหกำลังใจ 4) แนวทางการดูแลตอเนื่องในผูปวยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกที่เนนครอบครัวเปนศูนยกลางควร ประกอบดวยกระบวนการการวางแผนจำหนาย การดูแลที่บานและการสงตอผูปวย โดยในการวางแผน จำหนายนั้นควรเนนการเตรียมพรอมครอบครัวและผูดูแลหลักใหมีศักยภาพในการมีสวนรวมที่จะทำ กิจกรรมการดูแลผูปวยที่บานไดดวยตนเอง สำหรับการดูแลที่บานควรเนนบริการติดตามเยี่ยมบานที่ มุงเพิ่มศักยภาพของผูดูแลหลักและครอบครัว สวนการสงตอควรเนนการสงตอขอมูลและประสานงาน โดยใชแฟมครอบครัวเปนกลไกสำคัญสำหรับการดูแลผูปวยและครอบครัว

ขอเสนอแนะจากการศึกษา ควรนำแนวทางการดแลต่อเนื่องที่พัฒนาเน้นครอบครัวเป็นศนย์กลาง ในผูปวยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกบนพื้นฐานปญหา ความตองการและความคาดหวังไปพัฒนาเปน แนวปฏิบัติพยาบาลเพื่อใชในชุมชนและพัฒนาแหลงการเรียนรูการดูแลผูปวยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรก ที่บานโดยเนนการมีสวนรวมของผูปวย ครอบครัวและชุมชนแบบผูปวยชวยเหลือผูปวยหรือครอบครัว ชวยเหลือครอบครัวที่มีการลงมือปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมการดูแล

The primary purpose of this study was aimed to investigate the need, expectation, and fundamental synthesis in continuing care of patients with first stroke where family centered approach was focused. In this qualitative study, the sample included seven patients who have been diagnosed of first stroke disease, seven patients’ family members, and eleven healthcare personnel. Data collection was conducted during February – October 2007. The instrument used was the in-dept interview guidelines participating and non-participating observation, as well as researchers. The validity of the questionnaire instrument was tested in overall parts. The content analysis was performed under the respondent’s right protection.

The results have shown that; firstly, the problems pertaining to family-centered continuous care of patients with first stroke, from the respondent’s viewpoint, regarding to session of planned discharge, the patient’s family obtained inadequate information about readiness and taking care of the patients after leaving the hospital and returned to home. Regarding to session of referring, level of information service transferred to the related work units was low; there was no coordinator during a referring course. Regarding to homecare session, there was a lack of strengthening the family spirit when patient returned to home. Secondly, the needs for family-centered continuing care of patients with first stroke. In discharging session, the individual patient’s family needed for applicable information about readiness in taking care of the patient in practice. They needed for patient’s cooperation in handling things. They needed to adjust the way they thought to accept the realistic incident. In course of referring, forwarding the data was required necessarily; team synergy was needed to take accountability. At home-caring, the assistance among the family members was quite necessary to fulfill the continuing care of the patient with first stroke. Nurse personnel were required to visit the patient’s home for medical advice and recommendation. Thirdly, the expectation in the family-centered continuing care of patients with first stroke, in discharging session, the patient’s family expected that patient’s condition would resume to normality. The family members expected to be taught of physical therapy which would apply to the patient, healthcare instruction by nurses was demanded by patient’s family. In session of referring, the coordinating staffs were expected to transfer related data continuously. In course of home care, the patients and their family expected that nurses would visit them occasionally at home for medical assistance and encouragement. Fourthly, health care practices for family-centered continuing care of the patients with first stroke. In session of discharge, readiness of the family as core caregiver was important. To achieve this, family’s capacity was escalated and participation in healthcare activities in real practice at home was enhanced. Subsequent follow-up was emphasized to encourage caregiver’s capacity in taking care of the patients. In course of referring, data transfer and cooperation have been concentrated, where family file was used a caring-related mechanism. Based on the result of this paper, it’s suggested that family-centered continuous caring for the patients with

อ้อมใจ แก้วประหลาด หทัยชนก บัวเจริญ  และ รัชนี นามจันทรา. (2552). การศึกษาการดูแลต่อเนื่องที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรก. วารสาร มฉก.วิชาการ 13 (25), 41-58.

อ่านบทความฉบับเต็ม


Comments are closed

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa