การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่าย ผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียว
The Development of Discharge Planning Model for Medical Patients at Hua Chiew Hospital
บทคัดย่อ:
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป้วยอายุรกรรมและเพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบวางแผนจำหน่วยผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียววิธีดำเนินการวิจัย แบงเปน 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปญหาของผูปวย ครอบครัว และผูใหบริการขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหนาย ขั้นตอนที่ 3 การประเมินผลการนำรูปแบบวางแผนจำหนายไปใช ประชากรและกลุมตัวอยางประกอบดวย ผูปวยอายุรกรรมที่มีอายุมากกวา 56 ปโดย แบงออกเปน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มศึกษาจำนวน 30 ราย และกลุ่มเปรียบเทียบที่ไม่ได้รูปแบบวางแผนจำหน่าย จำนวน 140 ราย ครอบครัวของผูปวยที่เปนกลุมศึกษา และผูใหบริการ ซึ่งไดแก แพทยอายุรกรรม พยาบาลหัวหนาหอผูปวย พยาบาลที่ปฏิบัติงานประจำหอผูปวยสามัญหญิง หัวหนาฝายการพยาบาล และหัวหนาศูนยพัฒนาคุณภาพ นักกำหนดอาหาร นักกายภาพบำบัด เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ประกอบดวย 1) รายงานแบบประเมินและแบบบันทึกขอมูลจากผูปวย และ 2) เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมปัญหาการวางแผนจำหน่ายจากญาติและครอบครัวผู้ป่วย รวมทั้งจากผู้ให้บริการการวิเคราะห์ขอมูล รายงานสถิติตาง ๆ ดวยคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคารักษาพยาบาลและวันนอนโรงพยาบาล ขอมูลที่ไดจากญาติและครอบครัวผูปวยและผูใหบริการดวยการวิเคราะหเนื้อหา ระดับและคะแนนความเสี่ยงในการดูแลตอเนื่องหลังจำหนายวิเคราะหดวยไคสแคว เปรียบเทียบผูปวยที่นำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปใชกับกลุมผูปวยที่ใชรูปแบบเดิมดวย t-test ไดรูปแบบวางแผนจำหนายพื้นฐานหลักการของ A-B-C และกระบวนการพยาบาลแบงออกไดเปน 3 ขั้นตอน คือ 2.1) ขั้นการประเมินความเสี่ยงและความตองการการดูแลของผูปวยหลังจำหนาย 10 ดาน คือ 1) อายุ 2) ความเปนอยู/แรงสนับสนุนทางสังคม 3) ระดับสติปญญาและการรับรูนึกคิด 4) การเคลื่อนไหว 5) ขอจำกัดเกี่ยวกับประสาทสัมผัส 6) ประวัติการเจ็บปวยการนอนโรงพยาบาล/การเขาหองฉุกเฉินในชวง 3 เดือนที่ผ่านมา 7) จำนวนยาที่รับประทาน 8) จำนวนปัญหาโรคที่เป็นอยู่ 9) แบบแผนพฤติกรรม 10) สมรรถนะของผูปวยในการชวยเหลือตนเองในชีวิตประจำวัน 2.2) ขั้นการสรางแผนจำหนาย ซึ่งแผนการจำหนายประกอบดวย 1) การกำหนดปญหาของผูปวย 2) การวางเปาหมายระยะสั้นและระยะยาว 3) การกำหนดทีมผูรับผิดชอบและ 4) การกำหนดระยะเวลาในการดำเนินการ 2.3) ขั้นยืนยันแผนการจำหนายประกอบด้วย 1) การปฏิบัติตามแผนและ 2) การประเมินผลกิจกรรมการวางแผนจำหน่าย และ 3) ผลของการนำรูปแบบการวางแผนจำหนายไปใช พบวาความสัมพันธของระดับคะแนนความเสี่ยงในการดูแลตอเนื่องภายหลังการจำหนายกับการกลับมารักษาซ้ำใน 28 วันโดยไมไดวางแผน มีความสัมพันธอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คาใชจายและวันนอนโรงพยาบาลเฉลี่ยของกลุมที่นำรูปแบบการวางแผนจำหนายไปใชและกลุมเปรียบเทียบแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ขอเสนอแนะ ควรนำรูปแบบการวางแผนจำหนายที่พัฒนาขึ้นไปประยุกตใชกับกลุมผูปวยเฉพาะหรือโรคที่มีความชุกสูงตอยอดการพัฒนารูปแบบวางแผนจำหนาย โดยเนนการเชื่อมโยงหนวยงานระดับปฐมภูมิ และโรงพยาบาล โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ แบบมีสวนรวมกับญาติและครอบครัว รวมทั้งควรประเมินความพึงพอใจของผูปวยและญาติตลอดจนผูใหบริการ ตอรูปแบบการวางแผนจำหนายที่พัฒนาขึ้นหรือประเมินคุณภาพชีวิตของผูปวยและครอบครัวที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพของรูปแบบการวางแผนจำหนาย อีกทั้งควรกำหนดบทบาทที่ชัดเจนแตละวิชาชีพและดัดแปลงการใชรูปแบบใหเหมาะสมกับสภาพและบริบทของแตละโรงพยาบาล
The study aimed to improve the discharge planning model and investigate the result of model application. Methodologically, the research was divided into three processes; firstly, examining the conditions and issues of patients, patients’ family, and service providers; secondly, improving the discharge planning model, and lastly, evaluating the implementation of the discharge planning model. The sample included patients medical. The patients were aged 56 years old or over, sorted into 2 groups; 30 patients for the experiment group, and 140 patients and family for the comparison group without discharge planning application, service providers (including medicine physician, nurse supervisor of ward, nurses working routines at female ward, Head of Nursing, and Head of Quality Development Center, nutritionist, and physical therapists. The instrument used to gather the data included 1) the report assessment and the record of patients forms and 2) the data obtained from patients’ family, relatives, providers. The data of patients’ family, relatives, providers were analyzed to find a mean, and the data of patients’ family and providers were analyzed by content analysis, the level of patients’ risk assessed from initial admission and risk screening for continuing care after discharge was analyzed as chi-square. Compare between two patient groups; patients with proposed model application and patients with traditional discharge model, and analyze the data by using t-test. The developed discharge planning model has based on the A-B-C discharge model approach and three nursing processes which were as follows 1) risk assessment and demand for care-giving after discharge in 10 different areas; 1) age, 2) status quo/social contribution, 3) intellectual level and perception, 4) movement, 5) sensation limitation, 6) history of illness and admission/ER admission during past three months, 7) dosage and intake, 8) existing condition, 9) behavioral pattern, and 10) patients’ daily self-helped performance. The discharge plan development process, consisted of identifying patients’condition and issues, establishing short-term and long-term plan, setting up responsible work team, and defining duration of operation. The discharge confirmation process, consisted of compliance with plans and the discharge planning activity evaluation. In the implementation process, results revealed that risk scores for continuing care after discharge has significantly associated with reoccurrence within 28 days without planning at statistic interval of 0.05. There were differences in the experiment group (patients with implementation of the discharge planning model) and the comparison group for average medical expense and number of hospital staying at statistically significant interval of 0.05. It was suggested that 1) the proposed discharge planning model should be applied with patients with particular diseases such as high volume, 2) the development of discharge planning model should be surmounted by linkage between primary work unit and hospital, implementation of interdisciplinary work team involvement patients’ family, and 3) satisfaction with the developed discharge planning model among patients’ family and providers should be evaluated. In addition, life quality of patients and patients’ family should also be evaluated for further improvement on discharge planning performance. Defined to individual profession, modification should be done appropriately and consistently to the environment and context of each hospital.
อำพรรณ ภิรมย์สิทธิ์ นภาพร แก้วนิมิตชัย และ วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล. (2553). การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่าย ผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียว. วารสาร มฉก.วิชาการ 13 (26), 21-37.
อ่านบทความฉบับเต็ม