SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
Just returned มุมเพลินๆ หนังสือเพิ่งมาคืน
ต.ค. 20th, 2019 by rungtiwa

ศูนย์บรรณสารสนเทศ ขอแนะนำมุมหนังสือที่น่าสนใจอีกมุมหนึ่ง คือ มุมหนังสือ Just returned จัดให้บริการบริเวณเคาน์เตอร์บริการยืม-คืน ชั้น 1 ศูนย์บรรณสารสนเทศ เนื่องจากในแต่ละวันมีผู้ใช้บริการนำหนังสือมาคืน แล้วต้องคัดแยกส่งเก็บตามชั้นต่างๆ ทุกวัน ช่วงเวลา 16.00 น. ดังนั้น จึงได้มีแนวความคิดในการนำหนังสือที่เพิ่งคืนมาจัดแสดงอีกครั้ง เนื่องจากเห็นว่า น่าจะเป็นที่สนใจว่า ใครยืมหนังสืออะไรไปอ่านกันบ้าง ผู้ใช้ที่เรียนในสาขาวิชาเดียวกัน หรือผู้ที่สนใจในเรื่องทำนองเดียวกัน จะได้มีไอเดียในการอ่านหนังสือ เมื่อเห็นการจัดแสดงหนังสือที่เพิ่งมาคืน เหมือนเป็นการแนะนำหนังสือโดยผู้อ่านคนอื่นที่มีสไตล์การอ่านแบบเดียวกัน

บุคลากรศูนย์บรรณสารสนเทศ จึงเลือกหนังสือที่คืนบางส่วนในแต่ละวัน โดยเลือกหนังสือที่มีเนื้อหาทั่วไปเบาๆ ไม่เชิงวิชาการมากนัก เน้นเล่มใหม่ๆ เช่น หนังสือทางด้านดูแลสุขภาพ ทางด้านภาษาที่น่ารู้ นวนิยาย เป็นต้น นำมาจัดแสดงให้เห็นว่ามีหนังสืออะไรที่เพิ่งมาคืน น่าจะเป็นที่สนใจแก่ผู้อ่านคนอื่น ๆ บ้าง โดยไม่ต้องขึ้นไปเสาะแสวงหา การจัดมุมหนังสือ Just returned เป็นที่สนใจแก่ผู้ใช้บริการเป็นอย่างมาก ทำให้หนังสือเหล่านี้มีการหมุนเวียนถูกหยิบยืมอีก และยังได้เพิ่มการจัดทำ QR CODE เพื่อ Scan ดูเนื้อหาของหนังสือบางเล่ม อีกด้วย Read the rest of this entry »

ขั้นตอนการลบ Item ออกจากระบบ WMS
ต.ค. 15th, 2019 by prapaporn

หนังสือในห้องสมุด เมื่อมีการนำออก หรือพิจารณาคัดออก จะต้องมีนำระเบียนนั้น ๆ ออกจากระบบห้องสมุดด้วย แต่เนื่องจากในระบบ WorldShare Management Services (WMS) เป็นระบบที่มีลักษณะเป็นสหบรรณานุกรม หรือรวมการลงรายการบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่มีในแต่ละห้องสมุด จึงจะมีการใช้ระเบียนหลักร่วมกัน (Master record)  ดังนััน เมื่อมีการดึงหนังสือเล่มใดออกจากห้องสมุดแล้ว ในระบบจึงไม่สามารถจะลบระเบียนหลัก (Master record) ได้เนื่องจากมีห้องสมุดแห่งอื่น ใช้ระเบียนนั้น ร่วมกันอยู่  แต่จะเป็นลบ item ของหนังสือเล่มนั้น ๆ ออกจากระบบ

ในการดึงหนังสือออก จึงมีการนำหนังสือเหล่านั้น มาสแกนบาร์โคดก่อน นำเข้าโปรแกรม Excel เพื่อจะได้เป็นหลักฐาน และเพื่อนำบาร์โคดนั้นมาลบออกจากระบบห้องสมุดต่อไป โดยระบบสามารถให้ลบ Barcode ได้ทีละจำนวนมาก ๆ  หรือเป็นการลบ item ได้ทีละจำนวนมาก ๆ นั่นเอง

ขั้นตอนการลบ Item ออกจากระบบ WMS

1.  เตรียมข้อมูลบาร์โค้ดที่ต้องการลบเป็น File Excel โดยมีหมายเลขบาร์โค้ด 1 item ต่อ 1 บรรทัด ตามภาพ

ภาพตัวอย่างการเตรียมข้อมูล File Barcode ที่ต้องการลบ

2.  เข้าสู่ระบบ WMS เรียบร้อยแล้ว ทำการตั้งค่า ดังนี้ Read the rest of this entry »

Board Game กับ ห้องสมุดในศตวรรษที่ 21
ต.ค. 15th, 2019 by pailin

Board Game หรือเกมกระดาน เป็นอุปกรณ์เครื่องเล่นที่ปรากฏอยู่คู่สังคมมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ เช่น หมากรุก หมากฮอส หมากล้อมหรือโกะ จนกระทั่งในปัจจุบัน Board Game สมัยใหม่ได้มีการพัฒนาออกมาหลากหลายรูปแบบ มีทั้งแบบที่เล่นเองได้โดยง่าย และแบบที่มีความซับซ้อนมากขึ้น มีการกำหนดกฎเกณฑ์ กติกา และเพิ่มเรื่องราว โดยออกแบบร้อยเรียงเข้าไว้ในขั้นตอนการเล่นเกม จึงทำให้ผู้เล่นต้องศึกษาทำความเข้าใจในรายละเอียดของเกมก่อนที่จะเล่น ในระหว่างที่เล่นเกม ต้องคิดวางแผนแก้ไขปัญหา รวมทั้งมีปฎิสัมพันธ์กับเพื่อนๆ ที่กำลังล้อมวงเล่นเกมในขณะนั้น ส่งผลให้ผู้เล่นเกิดการพัฒนาทางความคิด เสริมสร้างทักษะที่ดีให้กับผู้เล่น ทั้งยังสร้างความสนุกสนาน ให้บันเทิงกับผู้เล่นได้เป็นอย่างดี

ด้วยคุณสมบัติพิเศษดังกล่าว ทำให้ห้องสมุดหลายแห่งพิจารณานำ Board Game เข้ามาให้บริการ เพื่อเป็นสิ่งที่จะช่วยกระตุ้นและเสริมสร้างพัฒนาการของเยาวชน ให้มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา สามารถสื่อสาร และร่วมงานกับคนอื่นได้ ซึ่งถือเป็นทักษะสำคัญของคนในศตวรรษที่ 21 หรือที่เรียกแบบย่อ ว่า 4Cs ซึ่งย่อมาจาก

  • Creativity      ความคิดสร้างสรรค์ การใช้จินตนาการสร้างสิ่งใหม่ สิ่งที่ดีกว่า
  • Critical Thinking      การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีเหตุผล รู้จักแก้ปัญหา
  • Communication       การสื่อสาร ความสามารถในการใช้ภาษา เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ
  • Collaboration      ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อทำงานให้สำเร็จได้

Read the rest of this entry »

การพัฒนามาตรฐานอาจารย์มืออาชีพ
ต.ค. 12th, 2019 by supaporn

การพัฒนามาตรฐานอาจารย์มืออาชีพ เป็นการสรุปจากการเข้าร่วมฟังการประชุม Thailand Quality Conference & The 20th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดโดยมูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มประเทศไทย ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562

ในแต่ละหัวข้อของการนำเสนอในการประชุมดังกล่าว ต้องมีแนวทางที่ผ่านกระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่ม กล่าวคือ

กระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ

1. ให้ความสำคัญกับกระบวนการทำงาน และสร้างมาตรฐานที่นำไปสู่ความสำเร็จตามคาดหมาย

2. ให้ความสำคัญกับลูกค้า เข้าใจความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า

3. ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพ แก้ปัญหาที่สาเหตุ ป้องกันการเกิดซ้ำ ใช้ข้อมูลและวิธีการทางสถิติ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วย PDCA

การพัฒนามาตรฐานอาจารย์มืออาชีพ (นำเสนอโดยมหาวิทยาลัยศรีปทุม)  มหาวิทยาลัยศรีปทุม ดำเนินการตามยุทธศาสตร์ในการสนับสนุนให้อาจารย์พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุงกระบวนการพัฒนาอาจารย์ภายใน อาจารย์ได้รับการยอมรับความเป็นมืออาชีพ มหาวิทยาลัยมีอาจารย์ได้รับการยอมรับในระดับชาติ ด้านการสอน ส่งผลให้มียอดนักศึกษาเพิ่มขึ้น โดยการเรียนรู้ความต้องการของลูกค้า 3 กลุ่ม ได้แก่

  • กลุ่มที่ 1 อาจารย์  ที่ต้องการพัฒนาตนเอง มีพี่เลี้ยงหรือผู้แนะนำในเรื่องที่เรียนรู้ใหม่ ๆ
  • กลุ่มที่ 2 ลูกศิษย์ ต้องการอาจารย์ ต้องการอาจารย์สอนสนุกได้ความรู้ เข้าใจนักศึกษา ตอบคำถามได้ทุกคำถาม ตลอดเวลา ในทุกช่องทาง รวมถึงเป็นโค้ชที่สามารถให้คำปรึกษา และค้นหาศักยภาพในตัวนักศึกษา ส่งเสริมให้นักศึกษามีโอกาสประสบความสำเร็จ
  • กลุ่มที่ 3 ผู้บริหารต้องการให้พัฒนาการจัดการเรียนการสอน ยกระดับคุณภาพอาจารย์ให้เป็นที่ยอมรับ การบริหารจัดการแบบบูรณาการข้ามศาสตร์ มีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กร และสถาบันทั้งในประเทศและต่างประเทศ

Read the rest of this entry »

ชีวิตที่ลงตัวด้วยระบบ e-HR
ต.ค. 12th, 2019 by supaporn

ชีวิตที่ลงตัวด้วยระบบ e-HR เป็นการสรุปจากการเข้าร่วมฟังการประชุม Thailand Quality Conference & The 20th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดโดยมูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มประเทศไทย ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562

ในแต่ละหัวข้อของการนำเสนอในการประชุมดังกล่าว ต้องมีแนวทางที่ผ่านกระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่ม กล่าวคือ

กระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ

1. ให้ความสำคัญกับกระบวนการทำงาน และสร้างมาตรฐานที่นำไปสู่ความสำเร็จตามคาดหมาย

2. ให้ความสำคัญกับลูกค้า เข้าใจความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า

3. ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพ แก้ปัญหาที่สาเหตุ ป้องกันการเกิดซ้ำ ใช้ข้อมูลและวิธีการทางสถิติ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วย PDCA

ชีวิตที่ลงตัวด้วยระบบ e-HR (นำเสนอโดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) เกิดจากความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า เนื่องจากระบบเดิมไม่สามารถตอบโจทย์ในการทำงานของฝ่ายทรัพยากรบุคคลและพัฒนาองค์กร  เป็นระบบใช้เพื่อบันทึกฐานข้อมูลเท่านั้น ไม่มีความเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลร่วมกัน

ต้องใช้กระดาษในการ Print out เพื่อนำเสนอ   ไม่ลดขั้นตอนในการทำงาน  เป็นการสื่อสารทางเดียว ผู้บริหารและบุคลากรไม่สามารถเรียกดูข้อมูลได้เอง  หรือเรียกใช้ข้อมูลอย่างเร่งด่วนได้  จึงได้มีการจัดซื้อระบบ COACH เข้ามาและปรับปรุงให้เข้ากับการใช้งานของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักจากการพัฒนาระบบ เกิดความลงตัวของฟังก์ชั่นการทำงาน ดังนี้ Read the rest of this entry »

Lean กระบวนงานด้วยระบบ Template และ Checklist
ต.ค. 12th, 2019 by supaporn

Lean กระบวนงานด้วยระบบ Template และ Checklist  เป็นการสรุปจากการเข้าร่วมฟังการประชุม Thailand Quality Conference & The 20th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดโดยมูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มประเทศไทย ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562

ในแต่ละหัวข้อของการนำเสนอในการประชุมดังกล่าว ต้องมีแนวทางที่ผ่านกระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่ม กล่าวคือ

กระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ

1. ให้ความสำคัญกับกระบวนการทำงาน และสร้างมาตรฐานที่นำไปสู่ความสำเร็จตามคาดหมาย

2. ให้ความสำคัญกับลูกค้า เข้าใจความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า

3. ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพ แก้ปัญหาที่สาเหตุ ป้องกันการเกิดซ้ำ ใช้ข้อมูลและวิธีการทางสถิติ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วย PDCA

Lean กระบวนงานด้วยระบบ Template และ Checklist (นำเสนอโดยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล) ฝ่ายนโยบายและแผน ศึกษาพบความสูญเปล่าในกระบวนการนำส่งผลดำเนินงานตัวชี้วัดระดับภาควิชา ซึ่งพบว่า มีความสูญเปล่าในเรื่อง Read the rest of this entry »

จาก KM สู่ Call Center อัจฉริยะ
ต.ค. 12th, 2019 by supaporn

จาก KM สู่ Call Center อัจฉริยะ เป็นการสรุปจากการเข้าร่วมฟังการประชุม Thailand Quality Conference & The 20th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดโดยมูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มประเทศไทย ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562

ในแต่ละหัวข้อของการนำเสนอในการประชุมดังกล่าว ต้องมีแนวทางที่ผ่านกระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่ม กล่าวคือ

กระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ

1. ให้ความสำคัญกับกระบวนการทำงาน และสร้างมาตรฐานที่นำไปสู่ความสำเร็จตามคาดหมาย

2. ให้ความสำคัญกับลูกค้า เข้าใจความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า

3. ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพ แก้ปัญหาที่สาเหตุ ป้องกันการเกิดซ้ำ ใช้ข้อมูลและวิธีการทางสถิติ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วย PDCA

จาก KM สู่ Call Center อัจฉริยะ (การประปานครหลวง) เป็นแนวทางที่เกิดจากปัญหาในการปฏิบัติงาน เนื่องจากพนักงานที่ทำหน้าที่ตอบคำถามไม่สามารถตอบปัญหาได้ทั้งหมด หรือตอบไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน หรือไม่มีความรู้ในเรื่องที่ถูกถาม ซึ่งเกิดจาก 3 ประเด็นหลักคือ คน ความรู้และทักษะ และแหล่งข้อมูล

การประปานครหลวง จึงได้มีการปรับปรุงกระบวนโดยการระบุองค์ความรู้ที่ขาด ค้นหาผู้รู้หรือแหล่งความรู้ ถ่ายทอดองค์ความรู้ จัดเก็บองค์ความรู้ที่ได้  มีการติดตามและประเมินผล จากกระบวนการที่มีการปรับปรุงใหม่ดังกล่าว ทำให้เกิดความพึงพอใจในระบบ Call Center เพิ่มขึ้นจากเดิม

Read the rest of this entry »

ระบบบริหารคลังวัสดุและสารเคมีเพื่อการวิจัย (Sci-Store)
ต.ค. 12th, 2019 by supaporn

ระบบบริหารคลังวัสดุและสารเคมีเพื่อการวิจัย (Sci-Store) เป็นการสรุปจากการเข้าร่วมฟังการประชุม Thailand Quality Conference & The 20th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดโดยมูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มประเทศไทย ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562

ในแต่ละหัวข้อของการนำเสนอในการประชุมดังกล่าว ต้องมีแนวทางที่ผ่านกระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่ม กล่าวคือ

กระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ

1. ให้ความสำคัญกับกระบวนการทำงาน และสร้างมาตรฐานที่นำไปสู่ความสำเร็จตามคาดหมาย

2. ให้ความสำคัญกับลูกค้า เข้าใจความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า

3. ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพ แก้ปัญหาที่สาเหตุ ป้องกันการเกิดซ้ำ ใช้ข้อมูลและวิธีการทางสถิติ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วย PDCA

ระบบบริหารคลังวัสดุและสารเคมีเพื่อการวิจัย (Sci-Store) (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ) เพื่อให้คลังอุปกรณ์และสารเคมีเดิมที่มีอยู่ให้พร้อมใช้ หาง่าย เบิกสะดวก ปลอดภัย และมีการควบคุมที่ถูกต้อง มีการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาผ่าน Fishbone Diagram

การวิเคราะห์ประเด็นปัญหาผ่าน Fishbone Diagram

Read the rest of this entry »

กระบวนการบริหารเงินลงทุน
ต.ค. 12th, 2019 by supaporn

กระบวนการบริหารเงินลงทุน  เป็นการสรุปจากการเข้าร่วมฟังการประชุม Thailand Quality Conference & The 20th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดโดยมูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มประเทศไทย ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562

ในแต่ละหัวข้อของการนำเสนอในการประชุมดังกล่าว ต้องมีแนวทางที่ผ่านกระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่ม กล่าวคือ

กระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ

1. ให้ความสำคัญกับกระบวนการทำงาน และสร้างมาตรฐานที่นำไปสู่ความสำเร็จตามคาดหมาย

2. ให้ความสำคัญกับลูกค้า เข้าใจความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า

3. ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพ แก้ปัญหาที่สาเหตุ ป้องกันการเกิดซ้ำ ใช้ข้อมูลและวิธีการทางสถิติ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วย PDCA

กระบวนการบริหารเงินลงทุน (นำเสนอโดยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล) เป็นการพัฒนาแนวทางการบริหารเงินลงทุนโดยฝ่ายการคลัง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เนื่องจากเดิมการบริหารเงินทุนของมหาวิทยาลัย มีเพียงการฝากเงินธนาคาร พันธบัตร หุ้นกู้ กองทุนส่วนบุคคล  การบันทึกข้อมูลช้า ข้อมูลไม่ตรงกัน รายงานข้อมูลเงินลงทุนประจำเดือนไม่เป็นปัจจุบัน ผู้บริหารได้รับข้อมูลไม่ครบถ้วน ไม่ทันสถานการณ์การเงิน Read the rest of this entry »

กระบวนสร้างความรู้และงานวิจัยในองค์กร
ต.ค. 12th, 2019 by supaporn

กระบวนสร้างความรู้และงานวิจัยในองค์กร เป็นการสรุปจากการเข้าร่วมฟังการประชุม Thailand Quality Conference & The 20th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดโดยมูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มประเทศไทย ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562

ในแต่ละหัวข้อของการนำเสนอในการประชุมดังกล่าว ต้องมีแนวทางที่ผ่านกระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่ม กล่าวคือ

กระบวนการ TQM ตามแผนภูมิ

1. ให้ความสำคัญกับกระบวนการทำงาน และสร้างมาตรฐานที่นำไปสู่ความสำเร็จตามคาดหมาย

2. ให้ความสำคัญกับลูกค้า เข้าใจความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า

3. ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพ แก้ปัญหาที่สาเหตุ ป้องกันการเกิดซ้ำ ใช้ข้อมูลและวิธีการทางสถิติ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วย PDCA

กระบวนสร้างความรู้และงานวิจัยในองค์กร (นำเสนอกองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์) เกิดจากหน่วยงานไม่สามารถเก็บข้อมูลงานวิจัยของหน่วยงานได้ บุคลากรไม่ให้ความสำคัญของการวิจัย ขาดการมีส่วนร่วมขององค์กร งานวิจัยไม่สอดคล้องกับพันธกิจ เมื่อผ่านกระบวน PDCA โดยมีการพัฒนา ระบบ ฐานข้อมูล และบุคลากรแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ ทำให้เห็นแผนที่การวิจัย (Research Road Map) ของหน่วยงานเกิดขึ้น

ปัญหา กระบวนการและผลลัพธ์ของงานวิจัย

Read the rest of this entry »

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa