การศึกษาคุณภาพและดัชนีชี้วัด การดูแลอย่างต่อเนื่องที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
The study of quality and Indicators of family-centred continuing care
บทคัดย่อ:
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพและดัชนีชี้วัดในการดูแลอย่างต่อเนื่องโดยครอบครัวเป็นศูนย์กลางตามมุมมองของผู้ป่วย ครอบครัว พยาบาล โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยการวิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงเนื้อหา ระหว่างการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้ป่วย ผู้ดูแล ครอบครัว และการสนทนากลุ่มกับกลุ่มพยาบาลวิชาชีพ และการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับแนวคิดการดูแลต่อเนื่องและแนวคิดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง Read the rest of this entry »
การศึกษาการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้านเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
A Study of Family-Centered Care to Prevent Complications at Home in Patients with Cerebrovascular Disease
การศึกษาเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหา ความตองการและความคาดหวังการบริการสุขภาพที่สนับสนุนการดูแลผูปวยโรคหลอดเลือดสมองที่บาน และสังเคราะหแนวทางเบื้องตนในการปองกันการเกิดภาวะแทรกซอนโดยเนนครอบครัวเปนศูนยกลางตามการรับรูของผูปวย ครอบครัว และบุคลากรสาธารณสุข ผูใหขอมูลเลือกแบบเจาะจง ประกอบดวย 1) ครอบครัวที่มีผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง 8 ครอบครัว ผู้ป่วยจำนวน 2 ราย สมาชิกในครอบครัวที่เป็นผู้ดูแลหลัก 8 คน 2) บุคลากรสาธารณสุขจำนวน 10 คน โดยการสัมภาษณเจาะลึก การสังเกตแบบมีสวนรวม และไมมีสวนรวมวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหาภายใตการพิทักษสิทธิ์และจริยธรรมการวิจัย Read the rest of this entry »
การศึกษาการดูแลต่อเนื่องที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรก
The Study of Family-Centered Continuing Care in First Stroke Patients
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหา ความตองการและความคาดหวัง ตลอดจน สังเคราะหแนวทางเบื้องตนในการดูแลผูปวยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกอยางตอเนื่องที่เนนครอบครัว เปนศูนยกลาง โดยใชการวิจัยเชิงคุณภาพ ผูใหขอมูลคือ ผูปวยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกจำนวน 7 คน สมาชิกในครอบครัวผูปวยที่เปนผูดูแลหลักจำนวน 7 คน บุคลากรสุขภาพจำนวน 11 คน เก็บขอมูลระหวางเดือนกุมภาพันธ – ตุลาคม พ.ศ. 2550 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ แนวคำถามใน การสัมภาษณเจาะลึก การสังเกตแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวมและตัวผูวิจัย ความนาเชื่อถือของ เครื่องมือไดจากการตรวจสอบแบบสามเสาขอมูลจากเครื่องมือทุกสวน วิเคราะหขอมูลดวยการ วิเคราะหเชิงเนื้อหาภายใตการพิทักษสิทธิ์ผูถูกวิจัย Read the rest of this entry »
รูปแบบการสรางความตระหนักรู้สมรรถนะแหงตนเพื่อการสรางเสริมสุขภาพของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
The Self-efficacy Model for Health Promoting Behavior of Student in Private University
วนิดา ดุรงคฤทธิชัย หทัยชนก บัวเจริญ ชนิกา เจริญจิตตกุล ทวีศักดิ์ กสิผล ภัทรียา พันธุทอง และ กมลทิพย ขลังธรรมเนียม. (2556). รูปแบบการสรางความตระหนักรู้สมรรถนะแหงตนเพื่อการสรางเสริมสุขภาพของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. วารสาร มฉก.วิชาการ 16 (32), 32 -39.
อ่านบทความฉบับเต็ม
ผลของโปรแกรมการปฏิสัมพันธอยางมีเปาหมายตอพฤติกรรมการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
Effects of a Transactional Program on the Control of Hypertension in the Community
รัตนชรีญาภรณ คำราพิศ หทัยชนก บัวเจริญ และทวีศักดิ์ กสิผล. (2556). ผลของโปรแกรมการปฏิสัมพันธอยางมีเปาหมายตอพฤติกรรมการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน. วารสาร มฉก.วิชาการ 16 (32), 1-18.