SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
สถิติห้องสมุดกับงาน Circulation Events Detail Report ใน WMS
ต.ค. 21st, 2018 by ปัญญา วงศ์จันทร์

ระบบห้องสมุด WorldShare Management Services (WMS) ได้ทำฟังก์ชั่น เพื่อรายงานสถิติเกี่ยวกับการทำงานในห้องสมุดที่น่าสนใจมีมากมาย ในส่วนของงาน Circulation มีดังนี้

  • Cancel- Hold (การยกเลิกการจอง)
  • Check-In (การคืน)
  • Check-Out (การยืม)
  • Create-Bill (การออกใบเสร็จ)
  • Patron-Delete (การตรวจสอบพันธะ)
  • Pay-Bill (การชำระค่าปรับ)
  • Place-Hold (การจอง)
  • Renew (การยืมต่อ)
  • Report-Lost (การแจ้งหนังสือหาย)
  • Soft-Check-Out  (การเก็บหนังสือมาทำ Non Loan Return)
    ฯลฯ

โดยมีวิธีการ รายละเอียด

จากตัวอย่างข้างต้น บุคลากรผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้เพื่อจัดเก็บสถิติหรือตรวจสอบการทำงานได้อย่างง่ายดายเพื่อนำมารายงานผลการปฏิบัติงานได้ ผู้บริหารหรือหัวหน้างานสามารถตรวจสอบการทำงานได้หรือนำสถิติใน Circulation Events Detail Report มาช่วยในการตัดสินใจในการบริหารต่อไป

บทความที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการเคลียร์รายการค่าปรับและส่งบิลค่าปรับให้สมาชิกผ่านทาง E-mail

การจองทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบ WMS

เปิดเทอมแล้วมาโหลด APP ช่วยในการทำงานกันเถอะ

Notification Alert

ขั้นตอนการตรวจรับและตรวจสอบหนังสือใหม่

วิธีการเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อม

การพิมพ์สันหนังสือในระบบ WMS

ขั้นตอนการลงรายการสื่อโสตทัศนวัสดุ ประเภท Sound Recording

งานบริการรับแจ้งหนังสือหายในระบบ WMS

งานสร้างระเบียนสมาชิก 

No Linguistic Content และ Undetermined สำคัญอย่างไร

การสร้างข้อมูลร้านค้า (New Vendor)

ขั้นตอนการทำการสั่งซื้อหนังสือ (Orders) ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WMS

วิธีเก็บสถิติการใช้งานภายในห้องสมุด กรณีที่ผู้ใช้ไม่หยิบหนังสือไปยืมออก

คู่มือการใช้บริการ WorldShare Interlibrary Loan (WorldShareILL)

วิธียืมหนังสือต่อด้วยตนเองทางออนไลน์ (WMS)

คู่มือการปฏิบัติงานการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

การลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศในโมดูล Metadata ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

Acquisition Module เพื่อการจัดสรรงบประมาณ ในระบบห้องสมุด WMS เพื่อการจัดสรรงบประมา

การทำ Data Migration เข้า WorldShare Management Services (WMS)

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services (WMS) : WMS ตอนที่ 5 การทำสัญญา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 4 การต่อรองราคา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 3

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 2

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 1

 

การจองทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบ WMS
ต.ค. 15th, 2018 by rungtiwa

ศูนย์บรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ได้เปิดใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WorldShare Management Services หรือ WMS มาตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 ในระบบ WMS มีฟังก์ชั่นในการให้บริการจองทรัพยากรสารสนเทศ  โดยการจองทรัพยากรสารสนเทศทางออนไลน์ สามารถทำได้ 2 วิธี ดังต่อไปนี้

  1. จองด้วยตนเองผ่านระบบ (กรณีผู้ใช้บริการจองด้วยตนเอง)
  2. จองโดยให้เจ้าหน้าที่ห้องสมุดจองให้

การจองทั้ง 2 แบบสามารถจองทรัพยากรสารสนเทศได้ทั้งที่อยู่บน Shelf และที่ถูกยืมออกไป

รายละเอียดของ  การจองหนังสือ

บทความที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการเคลียร์รายการค่าปรับและส่งบิลค่าปรับให้สมาชิกผ่านทาง E-mail

สถิติห้องสมุดกับงาน Circulation Events Detail Report ใน WMS

เปิดเทอมแล้วมาโหลด APP ช่วยในการทำงานกันเถอะ

Notification Alert

ขั้นตอนการตรวจรับและตรวจสอบหนังสือใหม่

วิธีการเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อม

การพิมพ์สันหนังสือในระบบ WMS

ขั้นตอนการลงรายการสื่อโสตทัศนวัสดุ ประเภท Sound Recording

งานบริการรับแจ้งหนังสือหายในระบบ WMS

งานสร้างระเบียนสมาชิก 

No Linguistic Content และ Undetermined สำคัญอย่างไร

การสร้างข้อมูลร้านค้า (New Vendor)

ขั้นตอนการทำการสั่งซื้อหนังสือ (Orders) ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WMS

วิธีเก็บสถิติการใช้งานภายในห้องสมุด กรณีที่ผู้ใช้ไม่หยิบหนังสือไปยืมออก

คู่มือการใช้บริการ WorldShare Interlibrary Loan (WorldShareILL)

วิธียืมหนังสือต่อด้วยตนเองทางออนไลน์ (WMS)

คู่มือการปฏิบัติงานการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

การลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศในโมดูล Metadata ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

Acquisition Module เพื่อการจัดสรรงบประมาณ ในระบบห้องสมุด WMS เพื่อการจัดสรรงบประมา

การทำ Data Migration เข้า WorldShare Management Services (WMS)

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services (WMS) : WMS ตอนที่ 5 การทำสัญญา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 4 การต่อรองราคา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 3

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 2

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 1

 

วิธีการคำนวณการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ก.ย. 30th, 2018 by chanunchida

ตามที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำรายงานการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ของศูนย์บรรณสารนั้น  เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของศูนย์บรรณสารสนเทศ  ในการอนุรักษ์พลังงาน ในตารางการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ มีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้

1. ตารางสรุปการใช้ไฟฟ้า น้ำประปา อาคารบรรณสาร
2. กราฟแสดงทิศทางการใช้พลังงานไฟฟ้าและน้ำประปา อาคารบรรณสาร
3. วิธีการคำนวณน้ำหนักกระดาษ อาคารบรรณสาร
4. ข้อมูลการใช้ทรัพยากรและการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก อาคารบรรณสาร
5. การวิเคราะห์ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก อาคารบรรณสาร
6. ปริมาณขยะ อาคารศูนย์บรรณสารสนเทศ

มารู้จักวิธีการคำนวณรายงานการใช้ทรัพยากรสารสนเทศกันเถอะ….

ประโยชน์ที่ได้จากการทำรายงานฉบับนี้ ทำให้ทราบถึงปริมาณการใช้ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา และกระดาษ ของอาคารบรรณสาร หากมีการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรดังกล่าว จะได้หาปัญหาของการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรนั้น เช่น การช่วยรณรงค์ การประหยัดน้ำ ประหยัดไฟฟ้า ลดปริมาณขยะ และรวมถึงการร่วมแรงร่วมใจกันใช้กระดาษรีไซเคิลนำมาพิมพ์เอกสาร ทั้งนี้กิจกรรมดังกล่าวมาข้างต้น ได้มีอยู่ในมาตรการการประหยัดพลังงานด้วยคุณธรรมของมหาวิทยาลัย 15 ข้อ

เปิดเทอมแล้วมาโหลด APP ช่วยในการทำงานกันเถอะ
ก.ย. 12th, 2018 by ปัญญา วงศ์จันทร์

มาทำความรู้จัก App Digby ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันสำหรับมือถือตัวช่วยในการใช้งานในห้องสมุดกันครับว่าช่วยสนับสนุนการใช้งานห้องสมุดอย่างไรบ้าง

1. เข้าถึงรายการบรรณานุกรมของหนังสือ

2. นำขึ้นชั้นหนังสือได้ตามเลขหมู่

3. ทำ Inventory ของหนังสือ

4. คืนออกจากระบบผู้ใช้บริการ

5. Capture หน้าจอของบรรณานุกรมช่วยลดในการจดทำให้ประหยัดกระดาษ

มาเรียนรู้ App Digby เพื่อเพิ่มความสะดวกในการทำงานกันนะครับ

ทำความรู้จัก App Digby

จากแอพ Digby นี้ ทาง OCLC ได้พัฒนาการใช้งานของแอพพลิเคชัน ให้มีประสิทธิ์ภาพมากขึ้นเพื่อความสะดวกในการทำงานในห้องสมุดหรือพกพาแอพพลิเคชัน Digby ไปใช้งานนอกห้องสมุดได้เพื่อเพิ่มความสะดวกในการทำงาน ผมหวังว่าทาง OCLC จะเพิ่มลูกเล่นเพิ่มขึ้น เช่น การยืม การชำระค่าปรับ หรือการจองหนังสือผ่านแอพพลิเคชันในอนาคต

บทความที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการเคลียร์รายการค่าปรับและส่งบิลค่าปรับให้สมาชิกผ่านทาง E-mail

วิธีและขั้นตอนการ Key Basic Tag ในการสร้าง Order

สถิติห้องสมุดกับงาน Circulation Events Detail Report ใน WMS

การจองทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบ WMS

Notification Alert

ขั้นตอนการตรวจรับและตรวจสอบหนังสือใหม่

วิธีการเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อม

การพิมพ์สันหนังสือในระบบ WMS

ขั้นตอนการลงรายการสื่อโสตทัศนวัสดุ ประเภท Sound Recording

งานบริการรับแจ้งหนังสือหายในระบบ WMS

งานสร้างระเบียนสมาชิก 

No Linguistic Content และ Undetermined สำคัญอย่างไร

การสร้างข้อมูลร้านค้า (New Vendor)

ขั้นตอนการทำการสั่งซื้อหนังสือ (Orders) ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WMS

วิธีเก็บสถิติการใช้งานภายในห้องสมุด กรณีที่ผู้ใช้ไม่หยิบหนังสือไปยืมออก

คู่มือการใช้บริการ WorldShare Interlibrary Loan (WorldShareILL)

วิธียืมหนังสือต่อด้วยตนเองทางออนไลน์ (WMS)

คู่มือการปฏิบัติงานการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

การลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศในโมดูล Metadata ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

Acquisition Module เพื่อการจัดสรรงบประมาณ ในระบบห้องสมุด WMS เพื่อการจัดสรรงบประมา

การทำ Data Migration เข้า WorldShare Management Services (WMS)

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services (WMS) : WMS ตอนที่ 5 การทำสัญญา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 4 การต่อรองราคา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 3

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 2

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 1

 

 

ขั้นตอนการตรวจรับและตรวจสอบหนังสือใหม่
ก.ค. 9th, 2018 by chonticha

บุคลากรจากแผนบริการสารสนเทศในแต่ละชั้น มีหน้าที่ในการรับหนังสือใหม่ที่ผ่านการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแล้ว เพื่อนำให้บริการต่อไป แต่ก่อนที่จะนำขึ้นให้บริการนั้น แผนกบริการสารสนเทศ จะมีการถูกสอบความถูกต้องของหนังสือ เช่น เลขเรียกหนังสือที่อาจจะผิดพลาดได้ กล่าวคือ สันหนังสืออาจจะมีเลขเรียกหนังสือต่างจากที่บันทึกในระบบห้องสมุด

แผนกบริการสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารสนเทศ มีขั้นตอนในการตรวจสอบ ดังนี้

1.หนังสือที่ผ่านการ Catalog จากแผนกวิเคราะห์ฯ เรียบร้อยแล้ว หนังสือจะถูกส่งมายังแผนกบริการสารสนเทศ เพื่อขึ้นชั้นให้บริการ พร้อมแบบฟอร์มการส่งหนังสือ ดังภาพ

ตรวจหนังสือ1

2.เมื่อตรวจเช็คจำนวนหนังสือแล้ว จึงนำตัวเล่มหนังสือนั้นๆ มาตรวจสอบความถูกต้องในระบบห้องสมุด WMS  หรือ WorldShare Management Services ก่อนนำขึ้นชั้นหนังสือต่อไป

วิธีการตรวจสอบความถูกต้องในระบบ WMS Read the rest of this entry »

วิธีการเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อม
ก.ค. 9th, 2018 by chonticha

การซ่อมหนังสือ เป็นการบำรุงรักษาหนังสือของห้องสมุด หนังสือที่ผ่านการหยิบใช้งานบ่อยๆ อาจมีชำรุด เช่น สันหนังสือ ปกหนังสือ หรือ หน้าหนังสือ หลุดออกจากตัวเล่ม ตัวอย่างหนังสือที่ชำรุด ดังภาพ

การเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อมเมื่อผู้ดูแลความเรียบร้อยประจำพื้นที่ พบหนังสือชำรุด จะเก็บหนังสือเล่มนั้นๆ มาเพื่อซ่อมแซมหนังสือที่ชำรุดเสียหายให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพื่อพร้อมที่จะนำออกให้บริการต่อไปจึงต้องมีการ เปลี่ยน Status ของหนังสือ เพื่อให้ผู้ใช้บริการทราบว่าหนังสือเล่มนั้นๆ ยังไม่พร้อมให้บริการ โดยจะปรากฏ ที่หน้าจอ การสืบค้น ดังนี้  “Repair Room”

การเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อม

เมื่อหนังสือได้รับการซ่อมแซมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องเปลี่ยน Status เพื่อแจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบว่าหนังสือเล่มนั้นๆ พร้อมให้บริการแล้ว โดยจะปรากฏ ที่หน้าจอ การสืบค้น ดังนี้  “Available”

การเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อม

Read the rest of this entry »

การพิมพ์สันหนังสือในระบบ WMS
ก.ค. 5th, 2018 by yuphin

ในระบบห้องสมุด WorldShare Management Services หรือ WMS มีฟังก์ชั่น ในการพิมพ์สันหนังสือได้ โดยใช้คำสั่ง Label and Export List สำหรับการพิมพ์สันหนังสือ หรือเลขเรียกหนังสือที่บรรณารักษ์กำหนดไว้สำหรับหนังสือเล่มนั้นๆ ตามขั้นตอนดังนี้

  1. นำหนังสือที่ต้องการพิมพ์สันมาสืบค้นจากระบบ WMS โดยเลือกค้นจากเลข OCLC Number ดังตัวอย่างจะพบหนังสือชื่อเรื่อง “เรื่องไม่เคยเล่าในวังต้องห้าม”

10.

Read the rest of this entry »

วิธีการทำสมุดโน๊ตจากส.ค.ส เก่า
ก.ค. 5th, 2018 by pisit

ขอนำความรู้และประสบการณ์จากการทำสมุดโน้ต โดยนำวัสดุจากของเหลือใช้ มาแบ่งปันกันครับ

อุปกรณ์

1. ส.ค.ส เก่าที่ใช้แล้ว

2. กระดาษ A4 หรือ กระดาษสี

3. แม๊กเย็บกระดาษ

4. คัตเตอร์ตัดกระดาษ

วิธีทำ

1.นำส.ค.ส และกระดาษA4 มาพับครึ่ง Read the rest of this entry »

我与泰华文化文艺的渊源
ก.ค. 2nd, 2018 by Kwan Swee Huat

二十多年前为了解早期南来东南亚后的华人社会,常到新加坡国家图书馆索阅缩微胶卷,从中获取有关华人的讯息。书城的书店寻找自个需要的书籍,其中今古书店的旧文史书刊,满足了我部分的好奇心。

旧报章提供着大量近百年的华人社会的各种活动报道,多注重于政治军事灾难.旧籍常见“暹罗”“泰国”的描述,其历史、民俗、传说都叫人向往。常耳闻议论泰国的华文已衰弱消亡,我怀疑这种说法。因此泰国华人的社会状况,尤其是华文的传承更有莫名的兴趣。。

1995年中偶然的来到泰国。在华人商业区即俗称唐人街处溜达,见路边的繁荣拥挤不堪的杂货档口,摆卖着中原报,星暹日报、亚洲日报、京华中原及中华日报及其他多种中文刊物,即迷惑也惊喜­——华文并没消失在泰国!“泰国已无华文”的传言,不攻自破。

石龙军路旁的南美书局为此地首屈华文书店,售卖种类繁多的中国书籍及文具,楼上有几十种泰国当地华文著作在书架上;比邻的巷口有着旧书地摊,摆卖泰文与华文旧书。当时还有3家旧书摊贩卖华文旧书,多属 港台言情软性读物。那时的泰华旧书价格低廉,吸引我的大量购买泰华文史文艺出版物,二十年来兴趣至今未曾减弱。

在南美书局因大量购买搁放已久的泰华文艺书籍,惊动了老板陈式金老先生,由他介绍认识了泰华社会与经济研究专长的张仲木先生,后引见认识了林长茂先生等人,常被邀请出席他们的聚会,聆听有关泰华社会百年来各种沧桑经历,获益不浅。 Read the rest of this entry »

ชื่อเรื่องที่แตกต่าง (Varying form of title)
มิ.ย. 29th, 2018 by kalyaraksa

ในกุารลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ ในบางกรณี จะพบว่ามีการกำหนดชื่อของทรัพยากรสารสนเทศไว้ในส้วนอื่นๆ ที่ไม่ใช่แหล่งข้อมูลหลัก (Chief source of information) เช่น หน้าปก สันหนังสือ เป็นต้น ซึ่งอาจจะมีชื่อเรื่องที่แตกต่างกันออกไป หรือแม้แต่ชื่อเรื่องที่มาจากแหล่งข้อมูลหลักเอง เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นได้ทุกชื่อเรื่องที่ปรากฏ หรือทุกชื่อที่น่าจะเป็นช่องทางในการเข้าถึง บรรณารักษ์มักจะกำหนดชื่อเรื่องที่แตกต่างกันนั้น ไว้ในเขตข้อมูล 246 (Varying form of title) ซึ่งมีรายละเอียดของหลักเกณฑ์ในการลงรายการของเขตข้อมูล 246 ดังรายละเอียด

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa