SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
สถิติห้องสมุดกับงาน Circulation Events Detail Report ใน WMS
ต.ค. 21st, 2018 by ปัญญา วงศ์จันทร์

ระบบห้องสมุด WorldShare Management Services (WMS) ได้ทำฟังก์ชั่น เพื่อรายงานสถิติเกี่ยวกับการทำงานในห้องสมุดที่น่าสนใจมีมากมาย ในส่วนของงาน Circulation มีดังนี้

  • Cancel- Hold (การยกเลิกการจอง)
  • Check-In (การคืน)
  • Check-Out (การยืม)
  • Create-Bill (การออกใบเสร็จ)
  • Patron-Delete (การตรวจสอบพันธะ)
  • Pay-Bill (การชำระค่าปรับ)
  • Place-Hold (การจอง)
  • Renew (การยืมต่อ)
  • Report-Lost (การแจ้งหนังสือหาย)
  • Soft-Check-Out  (การเก็บหนังสือมาทำ Non Loan Return)
    ฯลฯ

โดยมีวิธีการ รายละเอียด

จากตัวอย่างข้างต้น บุคลากรผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้เพื่อจัดเก็บสถิติหรือตรวจสอบการทำงานได้อย่างง่ายดายเพื่อนำมารายงานผลการปฏิบัติงานได้ ผู้บริหารหรือหัวหน้างานสามารถตรวจสอบการทำงานได้หรือนำสถิติใน Circulation Events Detail Report มาช่วยในการตัดสินใจในการบริหารต่อไป

บทความที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการเคลียร์รายการค่าปรับและส่งบิลค่าปรับให้สมาชิกผ่านทาง E-mail

การจองทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบ WMS

เปิดเทอมแล้วมาโหลด APP ช่วยในการทำงานกันเถอะ

Notification Alert

ขั้นตอนการตรวจรับและตรวจสอบหนังสือใหม่

วิธีการเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อม

การพิมพ์สันหนังสือในระบบ WMS

ขั้นตอนการลงรายการสื่อโสตทัศนวัสดุ ประเภท Sound Recording

งานบริการรับแจ้งหนังสือหายในระบบ WMS

งานสร้างระเบียนสมาชิก 

No Linguistic Content และ Undetermined สำคัญอย่างไร

การสร้างข้อมูลร้านค้า (New Vendor)

ขั้นตอนการทำการสั่งซื้อหนังสือ (Orders) ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WMS

วิธีเก็บสถิติการใช้งานภายในห้องสมุด กรณีที่ผู้ใช้ไม่หยิบหนังสือไปยืมออก

คู่มือการใช้บริการ WorldShare Interlibrary Loan (WorldShareILL)

วิธียืมหนังสือต่อด้วยตนเองทางออนไลน์ (WMS)

คู่มือการปฏิบัติงานการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

การลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศในโมดูล Metadata ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

Acquisition Module เพื่อการจัดสรรงบประมาณ ในระบบห้องสมุด WMS เพื่อการจัดสรรงบประมา

การทำ Data Migration เข้า WorldShare Management Services (WMS)

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services (WMS) : WMS ตอนที่ 5 การทำสัญญา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 4 การต่อรองราคา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 3

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 2

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 1

 

การจองทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบ WMS
ต.ค. 15th, 2018 by rungtiwa

ศูนย์บรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ได้เปิดใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WorldShare Management Services หรือ WMS มาตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 ในระบบ WMS มีฟังก์ชั่นในการให้บริการจองทรัพยากรสารสนเทศ  โดยการจองทรัพยากรสารสนเทศทางออนไลน์ สามารถทำได้ 2 วิธี ดังต่อไปนี้

  1. จองด้วยตนเองผ่านระบบ (กรณีผู้ใช้บริการจองด้วยตนเอง)
  2. จองโดยให้เจ้าหน้าที่ห้องสมุดจองให้

การจองทั้ง 2 แบบสามารถจองทรัพยากรสารสนเทศได้ทั้งที่อยู่บน Shelf และที่ถูกยืมออกไป

รายละเอียดของ  การจองหนังสือ

บทความที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการเคลียร์รายการค่าปรับและส่งบิลค่าปรับให้สมาชิกผ่านทาง E-mail

สถิติห้องสมุดกับงาน Circulation Events Detail Report ใน WMS

เปิดเทอมแล้วมาโหลด APP ช่วยในการทำงานกันเถอะ

Notification Alert

ขั้นตอนการตรวจรับและตรวจสอบหนังสือใหม่

วิธีการเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อม

การพิมพ์สันหนังสือในระบบ WMS

ขั้นตอนการลงรายการสื่อโสตทัศนวัสดุ ประเภท Sound Recording

งานบริการรับแจ้งหนังสือหายในระบบ WMS

งานสร้างระเบียนสมาชิก 

No Linguistic Content และ Undetermined สำคัญอย่างไร

การสร้างข้อมูลร้านค้า (New Vendor)

ขั้นตอนการทำการสั่งซื้อหนังสือ (Orders) ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WMS

วิธีเก็บสถิติการใช้งานภายในห้องสมุด กรณีที่ผู้ใช้ไม่หยิบหนังสือไปยืมออก

คู่มือการใช้บริการ WorldShare Interlibrary Loan (WorldShareILL)

วิธียืมหนังสือต่อด้วยตนเองทางออนไลน์ (WMS)

คู่มือการปฏิบัติงานการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

การลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศในโมดูล Metadata ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

Acquisition Module เพื่อการจัดสรรงบประมาณ ในระบบห้องสมุด WMS เพื่อการจัดสรรงบประมา

การทำ Data Migration เข้า WorldShare Management Services (WMS)

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services (WMS) : WMS ตอนที่ 5 การทำสัญญา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 4 การต่อรองราคา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 3

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 2

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 1

 

พิธีมอบหนังสือชุด”รวมผลงานของพระมหาเถระซิงหวิน”
ต.ค. 15th, 2018 by wanna

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติได้จัดพิธีรับมอบหนังสือชุด “รวมผลงานของพระมหาเถระซิงหวิน”《星云大师全集》จากมูลนิธิแสงพุทธธรรม ประเทศไทย (国际佛光会泰国协会)ณ ห้องบรรยายพิเศษ 2 (ห้องสื่อประสม) อาคารบรรณสาร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ  โดยมีท่านอธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร. ประจักษ์ พุ่มวิเศษ เป็นผู้รับมอบจาก พระอาจารย์ซินติ้ง(心定法师)ผู้ร่วมในพิธีมีทั้งผู้แทนจากมูลนิธิแสงธรรมประเทศไทย และ จากไต้หวัน รวมทั้ง ผู้อำนวยการศูนย์บรรณสารสนเทศ และ เจ้าหน้าที่ของศูนย์บรรณสารสนเทศ

 

จากภาพจะเห็นหนังสือชุด“รวมผลงานของพระมหาเถระซิงหวิน”《星云大师全集》ทั้งหมด 365 เล่ม วางเรียงรายอยู่บนโต๊ะ และ ที่ผนังห้องจะเห็นรูปภาพของพระอาจารย์ซิงหวิน ที่มีใบหน้ายิ้มแย้มเปี่ยมด้วยความกรุณา ทำให้บรรยากาศในห้องเต็มไปด้วยความปิติยินดี Read the rest of this entry »

星云大师全集 赠予华侨崇圣大学仪式
ต.ค. 15th, 2018 by Kwan Swee Huat

佛光山曼谷文教中心送来了一份珍贵的书籍——《星云大师全集》。今天(2018年6月28日)是学校图书馆举办接受《星云大师全集》赠送仪式的重要日子,叶校长欢欣接受法露喜雨,主要来宾有主持赠书的心定法师、本地及台湾的居士代表、图书馆馆长、图书馆同仁等,济济一堂。

礼堂布置简单庄严,讲台前三百六十五册全集排列桌上,堂皇壮观。壁上悬挂着一脸和蔼笑容的大师巨像,为场面带来慈祥欢乐的气氛。星云大师是现德高望重的佛教大师。不单佛教界乃至其他领域,有着及其崇高的地位。

大师现年九十二岁、出家八十年、弘法六十多年,毕生奉献于弘扬“人间佛教”。

据资料显示:大师江苏扬州(江都)人,出生于1927年8月19日,十二岁时便在南京栖霞寺随志开上人出家,承继临济宗第四十八代传人。后来入栖霞律学院、焦山佛学院研修佛学。1949年春,组织僧侣救护队到台湾。1967年创建佛光山,并出任佛光山寺第一、二、三任住持。

大师以其“人间佛教”理念付诸实践,致力于社会,文化、教育、慈善等事业,不分贫贱富穷,一律平等提携共创人间幸福境地。因此,大师先后在世界各地创建二百余所道场、创办美术馆、图书馆、出版社、书局、中华学校、佛教丛林佛教学院六所,幼儿园、小学、中学、大学等数十所,如智光中学、普门中学等;高等学府有南华大学、佛光大学等。大师曾主编《人生》、《今日佛教》、《觉世》月刊等佛教刊物。 Read the rest of this entry »

ลิขสิทธิ์ในยุคดิจิทัลกับวงการศึกษา
ต.ค. 4th, 2018 by supaporn

จากการบรรยาย เรื่อง ลิขสิทธิ์ในยุคดิจิทัลกับวงการศึกษา โดย รองศาสตราจารย์ ดร. พินัย ณ นคร อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันศุกร์ที่ 28 กันยายน 2561 ณ ห้องประกอบ หุตะสิงห์ ชั้น 3 อาคารอเนกประสงค์ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

ลิขสิทธิ์ในยุคดิจิทัลกับวงการศึกษา โดย รองศาสตราจารย์ ดร. พินัย ณ นคร

รองศาสตราจารย์ ดร. พินัย ณ นคร ได้บรรยายให้ความรู้ตามหัวข้ออย่างชัดเจน ด้วยความเป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ ทำให้มีความกระจ่างและชัดเจนในประเด็นการละเมิดลิขสิทธิ์มากขึ้น สไลด์ที่อาจารย์เตรียมมาประกอบในการบรรยายนั้น มี 111 สไลด์ ล้วนแต่เป็นข้อมูลที่มีประโยชน์แต่ต้องอ่านและค่อยๆ ทำความเข้าใจ ประกอบกับการฟังบรรยายจากอาจารย์ ทำให้การบรรยาย ประมาณ 3 ชั่วโมง จบไปอย่างรวดเร็ว และยังมีผู้ฟังอยู่ฟังค่อนข้างหนาแน่น  Read the rest of this entry »

วิธีการคำนวณการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ก.ย. 30th, 2018 by chanunchida

ตามที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำรายงานการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ของศูนย์บรรณสารนั้น  เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของศูนย์บรรณสารสนเทศ  ในการอนุรักษ์พลังงาน ในตารางการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ มีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้

1. ตารางสรุปการใช้ไฟฟ้า น้ำประปา อาคารบรรณสาร
2. กราฟแสดงทิศทางการใช้พลังงานไฟฟ้าและน้ำประปา อาคารบรรณสาร
3. วิธีการคำนวณน้ำหนักกระดาษ อาคารบรรณสาร
4. ข้อมูลการใช้ทรัพยากรและการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก อาคารบรรณสาร
5. การวิเคราะห์ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก อาคารบรรณสาร
6. ปริมาณขยะ อาคารศูนย์บรรณสารสนเทศ

มารู้จักวิธีการคำนวณรายงานการใช้ทรัพยากรสารสนเทศกันเถอะ….

ประโยชน์ที่ได้จากการทำรายงานฉบับนี้ ทำให้ทราบถึงปริมาณการใช้ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา และกระดาษ ของอาคารบรรณสาร หากมีการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรดังกล่าว จะได้หาปัญหาของการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรนั้น เช่น การช่วยรณรงค์ การประหยัดน้ำ ประหยัดไฟฟ้า ลดปริมาณขยะ และรวมถึงการร่วมแรงร่วมใจกันใช้กระดาษรีไซเคิลนำมาพิมพ์เอกสาร ทั้งนี้กิจกรรมดังกล่าวมาข้างต้น ได้มีอยู่ในมาตรการการประหยัดพลังงานด้วยคุณธรรมของมหาวิทยาลัย 15 ข้อ

การทำหน้าที่ในฐานะว่าที่ผู้ตรวจห้องสมุดสีเขียว
ก.ย. 29th, 2018 by supaporn

หลังจากที่อบรมการเป็นผู้ตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียวของเครือข่ายห้องสมุดสีเขียวเมื่อวันที่ 29-30 มกราคม 2561  พร้อมกับการทดสอบความรู้ในเรื่องการประหยัดพลังงานและเกณฑ์การตรวจในหมวดต่างๆ ไปแล้วนั้น  กิจกรรมของการเป็นผู้ตรวจ ต่อจากนั้น จึงเริ่มจากการฝึกว่าที่ผู้ตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียวกับห้องสมุดที่เสนอชื่อรับการตรวจห้องสมุดสีเขียวในรอบปีที่ 3  โดยว่าที่ผู้ตรวจจะต้องฝึกการตรวจประเมินห้องสมุดจำนวน 2 แห่ง มี ในการลงสนามว่าที่ผู้ตรวจของผู้เขียนครั้งนี้ มีผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัตนวรรณ มั่งคั่ง ผู้อำนวยการศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้านกลยุทธ์เพื่อธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นประธานในการตรวจ ประกอบด้วยทีมผู้ตรวจ ได้แก่ ดร. อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นางสาวรุ่งทิพย์ ห่อวโนทยาน ประธานมาตรฐานวิชาชีพ คนที่ 2 สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย เและนางสาว ธนาภรณ์ ฉิมแพ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมเป็นพี่เลี้ยงในการตรวจ

ในการตรวจจะแบ่งหน้าที่ตามเกณฑ์ที่ผู้ตรวจมีความเชี่ยวชาญ ตามเกณฑ์การพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ข้อกำหนด แนวทางเชิงปฏิบัติ และวิธีการตรวจประเมิน พ.ศ. 2559 โดยหลักๆ เช่น ทางด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม นโยบาย เครือข่ายและห้องสมุด และตัวบ่งชี้ต่างๆ เช่น  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัตนวรรณ มั่งคั่ง จะตรวจหมวด 2 (โครงสร้างพื้นฐานทางด้านกายภาพและเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม) หมวด 3 (การจัดการทรัพยากรและพลังงาน), และหมวด 4  (การจัดการของเสียและมลพิษ) ดร. อารีย์  ธัญกิจจานุกิจ จะรับตรวจในหมวดที่ 1  ทั่วไป และ หมวดที่ 5 การบริหารจัดการและการให้บริการห้องสมุด เพื่อส่งเสริมการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดล้อม คุณรุ้งทิพย์ ห่อวโนทยาน รับตรวจในหมวดหมวดที่ 7  เครือข่ายและความร่วมมือระหว่างห้องสมุด และคุณธนาภรณ์ ฉิมแพ รับตรวจในที่ 6 บทบาทของบคลากรห้องสมุดและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และหมวดที่ 8  การประเมินคุณภาพห้องสมุดสีเขียว แต่ทั้งนี้ อาจจะมีการสลับหมวดหรือเพิ่มเติมหมวดในการตรวจกันบ้างในกรณีที่ผู้ตรวจบางท่านติดภารกิจ

ว่าที่ผู้ตรวจควรจะพิจารณาลงตรวจในหมวดที่มีความถนัด หรือสนใจ และควรจะเวียนตรวจในหมวดอื่นๆ ด้วย เพื่อจะได้ทดสอบความรู้ที่มีอยู่ ฝึกการตั้งคำถามฝึกการสังเกต ฝึกการพิจารณาหลักฐาน ฝึกการสรุปประเด็น การสรุปข้อสังเกต ฝึกการพิจารณาและอภิปรายประเด็นที่อาจจะมองเห็นต่างมุม ตลอดจนพิจารณาตัดสินว่า ควรจะให้คะแนนหรือไม่ อย่างไร ทั้งนี้ ประเด็นที่เห็น ที่คิด ควรจะได้มีการนำเสนอ เพื่อให้กลุ่มว่าที่ผู้ตรวจและผู้ตรวจทราบว่า คิดเห็นอย่างไร จะได้มีการปรับความคิด หรือการพูด การให้เหตุผลที่ดี ก่อนจะนำเสนอและสรุปเป็นคะแนนต่อไป Read the rest of this entry »

เปิดเทอมแล้วมาโหลด APP ช่วยในการทำงานกันเถอะ
ก.ย. 12th, 2018 by ปัญญา วงศ์จันทร์

มาทำความรู้จัก App Digby ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันสำหรับมือถือตัวช่วยในการใช้งานในห้องสมุดกันครับว่าช่วยสนับสนุนการใช้งานห้องสมุดอย่างไรบ้าง

1. เข้าถึงรายการบรรณานุกรมของหนังสือ

2. นำขึ้นชั้นหนังสือได้ตามเลขหมู่

3. ทำ Inventory ของหนังสือ

4. คืนออกจากระบบผู้ใช้บริการ

5. Capture หน้าจอของบรรณานุกรมช่วยลดในการจดทำให้ประหยัดกระดาษ

มาเรียนรู้ App Digby เพื่อเพิ่มความสะดวกในการทำงานกันนะครับ

ทำความรู้จัก App Digby

จากแอพ Digby นี้ ทาง OCLC ได้พัฒนาการใช้งานของแอพพลิเคชัน ให้มีประสิทธิ์ภาพมากขึ้นเพื่อความสะดวกในการทำงานในห้องสมุดหรือพกพาแอพพลิเคชัน Digby ไปใช้งานนอกห้องสมุดได้เพื่อเพิ่มความสะดวกในการทำงาน ผมหวังว่าทาง OCLC จะเพิ่มลูกเล่นเพิ่มขึ้น เช่น การยืม การชำระค่าปรับ หรือการจองหนังสือผ่านแอพพลิเคชันในอนาคต

บทความที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการเคลียร์รายการค่าปรับและส่งบิลค่าปรับให้สมาชิกผ่านทาง E-mail

วิธีและขั้นตอนการ Key Basic Tag ในการสร้าง Order

สถิติห้องสมุดกับงาน Circulation Events Detail Report ใน WMS

การจองทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบ WMS

Notification Alert

ขั้นตอนการตรวจรับและตรวจสอบหนังสือใหม่

วิธีการเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อม

การพิมพ์สันหนังสือในระบบ WMS

ขั้นตอนการลงรายการสื่อโสตทัศนวัสดุ ประเภท Sound Recording

งานบริการรับแจ้งหนังสือหายในระบบ WMS

งานสร้างระเบียนสมาชิก 

No Linguistic Content และ Undetermined สำคัญอย่างไร

การสร้างข้อมูลร้านค้า (New Vendor)

ขั้นตอนการทำการสั่งซื้อหนังสือ (Orders) ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WMS

วิธีเก็บสถิติการใช้งานภายในห้องสมุด กรณีที่ผู้ใช้ไม่หยิบหนังสือไปยืมออก

คู่มือการใช้บริการ WorldShare Interlibrary Loan (WorldShareILL)

วิธียืมหนังสือต่อด้วยตนเองทางออนไลน์ (WMS)

คู่มือการปฏิบัติงานการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

การลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศในโมดูล Metadata ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

Acquisition Module เพื่อการจัดสรรงบประมาณ ในระบบห้องสมุด WMS เพื่อการจัดสรรงบประมา

การทำ Data Migration เข้า WorldShare Management Services (WMS)

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services (WMS) : WMS ตอนที่ 5 การทำสัญญา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 4 การต่อรองราคา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 3

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 2

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 1

 

 

Notification Alert
ก.ค. 25th, 2018 by piyanuch

ในปีการศึกษา 2560 ประมาณเดือนพฤศจิกายน 2560 ศูนย์บรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ได้นำระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WorldShare Management Services หรือ WMS  มาช่วยในการบริการจัดงานห้องสมุด ทำให้ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวกในการใช้บริการ  โดยฟังก์ชั่นที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ ฟังก์ชั่น หนึ่งก็คือ การแจ้งเตือน หรือ Notification Alert เช่น การแจ้งเตือนเพื่อให้ผู้ใช้ทราบว่าหนังสือที่ยืมมาจะถึงกำหนดส่งคืน และให้ผู้ใช้พิจารณาตัดสินใจว่า จะนำมาคืนหรือยืมต่อ

ในฟังก์ชั่น Notification Alert นี้ มีการกำหนดให้มีการแจ้งเตือนทางอีเมล์ จำนวน 3 ครั้ง ได้แก่

ครั้งที่ 1 ก่อนถึงวันกำหนดส่ง 3 วัน

ครั้งที่ 2 วันกำหนดส่ง

ครั้งที่ 3 เลยกำหนดส่ง 1 วัน

 

การแจ้งเตือนครั้งที่ 1 ทำการแจ้งเตือน ก่อนกำหนดส่ง 3 วัน

ตัวอย่าง  e-mail ของผู้ใช้บริการ ที่ได้รับการแจ้งเตือน

การแจ้งเตือนครั้งที่ 2  แจ้งเตือนวันกำหนดส่ง

ตัวอย่าง  e-mail ของผู้ใช้บริการ ที่ได้รับการแจ้งเตือน

 

การแจ้งเตือนครั้งที่ 3   แจ้งเตือนเลยกำหนดส่ง 1 วัน

ตัวอย่าง  e-mail ของผู้ใช้บริการ ที่ได้รับการแจ้งเตือน

ถ้าผู้ยืมต้องการยืมต่อสามารถยืมต่อด้วยตนเองได้ที่ การ log in เข้าระบบด้วย username และ password ของสมาชิกที่ใช้เข้า Wifi ของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ สามารถอ่านคู่มือการต่ออายุด้วยตนเองได้ที่ https://lib-km.hcu.ac.th/renew-wms/

กรณีที่ผู้ใช้บริการ เปลี่ยน e-mail  ขอความร่วมมือในการแจ้งให้ศูนย์บรรณสารสนเทศทราบ เพื่อจะได้มีการปรับปรุงข้อมูลของผู้ใช้บริการ และระบบการแจ้งเตือน (Notification Alert) จะแจ้งไปยัง e-mail ที่ถูกต้องต่อไป

บทความที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการเคลียร์รายการค่าปรับและส่งบิลค่าปรับให้สมาชิกผ่านทาง E-mail

วิธีและขั้นตอนการ Key Basic Tag ในการสร้าง Order

การจองทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบ WMS

เปิดเทอมแล้วมาโหลด APP ช่วยในการทำงานกันเถอะ

ขั้นตอนการตรวจรับและตรวจสอบหนังสือใหม่

วิธีการเปลี่ยน Status หนังสือส่งซ่อม

การพิมพ์สันหนังสือในระบบ WMS

ขั้นตอนการลงรายการสื่อโสตทัศนวัสดุ ประเภท Sound Recording

งานบริการรับแจ้งหนังสือหายในระบบ WMS

งานสร้างระเบียนสมาชิก 

No Linguistic Content และ Undetermined สำคัญอย่างไร

การสร้างข้อมูลร้านค้า (New Vendor)

ขั้นตอนการทำการสั่งซื้อหนังสือ (Orders) ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WMS

วิธีเก็บสถิติการใช้งานภายในห้องสมุด กรณีที่ผู้ใช้ไม่หยิบหนังสือไปยืมออก

คู่มือการใช้บริการ WorldShare Interlibrary Loan (WorldShareILL)

วิธียืมหนังสือต่อด้วยตนเองทางออนไลน์ (WMS)

คู่มือการปฏิบัติงานการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

การลงรายการทางบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศในโมดูล Metadata ของระบบ WorldShare Management Services (WMS)

Acquisition Module เพื่อการจัดสรรงบประมาณ ในระบบห้องสมุด WMS เพื่อการจัดสรรงบประมา

การทำ Data Migration เข้า WorldShare Management Services (WMS)

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services (WMS) : WMS ตอนที่ 5 การทำสัญญา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 4 การต่อรองราคา

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 3

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 2

ทำไมจึงเลือก WorldShare Management Services – WMS ตอนที่ 1

 

ขั้นตอนการตรวจรับและตรวจสอบหนังสือใหม่
ก.ค. 9th, 2018 by chonticha

บุคลากรจากแผนบริการสารสนเทศในแต่ละชั้น มีหน้าที่ในการรับหนังสือใหม่ที่ผ่านการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแล้ว เพื่อนำให้บริการต่อไป แต่ก่อนที่จะนำขึ้นให้บริการนั้น แผนกบริการสารสนเทศ จะมีการถูกสอบความถูกต้องของหนังสือ เช่น เลขเรียกหนังสือที่อาจจะผิดพลาดได้ กล่าวคือ สันหนังสืออาจจะมีเลขเรียกหนังสือต่างจากที่บันทึกในระบบห้องสมุด

แผนกบริการสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารสนเทศ มีขั้นตอนในการตรวจสอบ ดังนี้

1.หนังสือที่ผ่านการ Catalog จากแผนกวิเคราะห์ฯ เรียบร้อยแล้ว หนังสือจะถูกส่งมายังแผนกบริการสารสนเทศ เพื่อขึ้นชั้นให้บริการ พร้อมแบบฟอร์มการส่งหนังสือ ดังภาพ

ตรวจหนังสือ1

2.เมื่อตรวจเช็คจำนวนหนังสือแล้ว จึงนำตัวเล่มหนังสือนั้นๆ มาตรวจสอบความถูกต้องในระบบห้องสมุด WMS  หรือ WorldShare Management Services ก่อนนำขึ้นชั้นหนังสือต่อไป

วิธีการตรวจสอบความถูกต้องในระบบ WMS Read the rest of this entry »

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa