SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระที่เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมในประเทศไทย
ก.พ. 16th, 2016 by rungtiwa

การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระที่เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมในประเทศไทย

The analysis of Breast cancer from Thesis and Independent Studies in Thailand

ณัฏฐณิชา ศรีจัตุรัส  อรพินท์ สีขาว และ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย. (2557).  การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระที่เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมในประเทศไทย. วารสาร มฉก. วิชาการ 17 (34), 43-60.

อ่านบทความฉบับเต็ม

การพัฒนาสบูเหลวจากสมุนไพรไทยและทดสอบฤทธิ์เบื้องตนในการตานทาน ตอเชื้อสแตฟฟโลคอกคัสออเรียสที่ดื้อยาเมทิซิลิน (MRSA)
ก.พ. 12th, 2016 by supaporn

การพัฒนาสบูเหลวจากสมุนไพรไทยและทดสอบฤทธิ์เบื้องตนในการตานทาน ตอเชื้อสแตฟฟโลคอกคัสออเรียสที่ดื้อยาเมทิซิลิน (MRSA)

Development of Thai herbal liquid soap and screening of antimicrobial activity of Thai herbs against methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA)

ปานทิพย รัตนศิลปกัลชาญ เกตุแกว จันทรจำรัส ภรณทิพย นราแหวว และ อุมาภรณ ผองใส. (2557). การพัฒนาสบูเหลวจากสมุนไพรไทยและทดสอบฤทธิ์เบื้องตนในการตานทาน ตอเชื้อสแตฟฟโลคอกคัสออเรียสที่ดื้อยาเมทิซิลิน (MRSA). วารสาร มฉก. วิชาการ 18 (35), 47-60.

อ่านบทความฉบับเต็ม

การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นตอปจจัยแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมตัวแทนผูรับจัดการขนสงสินคาระหวางประเทศในองคกรธุรกิจไทยกับองคกรธุรกิจขามชาติ
ก.พ. 12th, 2016 by supaporn

การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นตอปจจัยแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมตัวแทนผูรับจัดการขนสงสินคาระหวางประเทศในองคกรธุรกิจไทยกับองคกรธุรกิจขามชาติ

Comparative Study of Motivation Factors of Freight Forwarder Industries Between
Freight Forwarder Employees in Thai Companies and Multinational Companies

กรกช วนกรกุล. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นตอปจจัยแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมตัวแทนผูรับจัดการขนสงสินคาระหวางประเทศในองคกรธุรกิจไทยกับองคกรธุรกิจขามชาติ. วารสาร มฉก. วิชาการ 18 (35), 29-46.

อ่านบทความฉบับเต็ม

แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผูดูแลผูสูงอายุที่ปวยเปนโรคหลอดเลือดสมองเพื่อเฝาระวังการเกิดภาวะซึมเศรา
ก.พ. 12th, 2016 by supaporn

แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผูดูแลผูสูงอายุที่ปวยเปนโรคหลอดเลือดสมองเพื่อเฝาระวังการเกิดภาวะซึมเศรา

The Clinical Nursing Practice Guideline for Caregiver to Depression Surveillance of Post Stroke Elderly People in Community

วรนุช ทองไทย วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย และ กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม. (2557). แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผูดูแลผูสูงอายุที่ปวยเปนโรคหลอดเลือดสมองเพื่อเฝาระวังการเกิดภาวะซึมเศรา. วารสาร มฉก. วิชาการ 18 (35), 13-28.

อ่านบทความฉบับเต็ม

ประสิทธิผลของโปรแกรมสงเสริมการดูแลตนเองตอพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับน้ำตาลในเลือดของผูที่มีระดับน้ำตาลในเลือดเกินระดับปกติในชุมชน
ก.พ. 12th, 2016 by supaporn

ประสิทธิผลของโปรแกรมสงเสริมการดูแลตนเองตอพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับน้ำตาลในเลือดของผูที่มีระดับน้ำตาลในเลือดเกินระดับปกติในชุมชน

The Effectiveness of Promoting Self-Care Behavior Program on the Self-Care Behavior Among People With High Blood Glucose Level in the Community

พัชราภัณฑ ไชยสังข ปญจภรณ ยะเกษม และ นรากูล พัดทอง. (2557). ประสิทธิผลของโปรแกรมสงเสริมการดูแลตนเองตอพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับน้ำตาลในเลือดของผูที่มีระดับน้ำตาลในเลือดเกินระดับปกติในชุมชน. วารสาร มฉก. วิชาการ 18 (35), 1-12.

อ่านบทความฉบับเต็ม

มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมดูแลการหาเสียงเลือกตั้งผ่านสื่อสังคมออนไลน์
ก.พ. 11th, 2016 by supaporn

มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมดูแลการหาเสียงเลือกตั้งผ่านสื่อสังคมออนไลน์
Legal Controls of Election Campaigns Via Social Media

รชยา สิทธิสิน. (2558). มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมดูแลการหาเสียงเลือกตั้งผ่านสื่อสังคมออนไลน์. วารสาร มฉก. วิชาการ,19 (37), 141-152.

อ่านบทความฉบับเต็ม

ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบร่วมรู้สึกต่อความเอื้ออาทรผู้อื่น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ก.พ. 11th, 2016 by supaporn

ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบร่วมรู้สึกต่อความเอื้ออาทรผู้อื่น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

The Effect of Empathic Group Counseling on Altruism of Grade 6 Students

จรีวรรณ ชัยอารีย์เลิศ และ ดลดาว ปูรณานนท์. (2558). ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบร่วมรู้สึกต่อความเอื้ออาทรผู้อื่น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสาร มฉก. วิชาการ,19 (37), 129-140.

อ่านบทความฉบับเต็ม

การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมท้องถิ่น:ประเพณีสงกรานต์ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
ก.พ. 11th, 2016 by supaporn

การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมท้องถิ่น:ประเพณีสงกรานต์ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
Local Culture Changes: Prapradaeng Songkran Festival, Samutprakarn Province

สรรเกียรติ กุลเจริญ ภุชงค์ เสนานุช และ ศักดินา บุญเปี่ยม. (2558). การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมท้องถิ่น:ประเพณีสงกรานต์ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสาร มฉก. วิชาการ,19 (37), 117-128.

อ่านบทความฉบับเต็ม

ผลของโปรแกรมแรงสนับสนุนทางสังคมต่อความไม่มั่นคง ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
ก.พ. 11th, 2016 by supaporn

ผลของโปรแกรมแรงสนับสนุนทางสังคมต่อความไม่มั่นคง ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด (Effectiveness of Social Support Program on Vulnerability in Patient with Breast Cancer Receiving Chemotherapy)

บทคัดย่อ:

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง โดยใช้รูปแบบกลุ่มเดียว วัด 2 ครั้ง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะของความไม่มั่นคงและผลของโปรแกรมแรงสนับสนุนทางสังคม ต่อการลดความไม่มั่นคงในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ที่รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดที่มารับบริการ ณ ศูนย์มะเร็ง โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในภาคตะวันตก คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดจำนวน34 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบประเมินความไม่มั่นคง และโปรแกรมแรงสนับสนุนทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ลักษณะความไม่มั่นคงของกลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตัวอย่างรู้สึกกระวนกระวายใจกับผลการรักษามากที่สุดร้อยละ 64.71 (x–=1.44, S.D.=0.660) รองลงมาคือ รู้สึกถึงความไม่แน่นอนของระยะเวลาในการมีชีวิตอยู่ร้อยละ 61.76 (x–=1.50, S.D.=0.749) และรู้สึกว่าการเจ็บป่วยด้วยโรคนี้ต้องบอกให้สมาชิกในครอบครัวหรือบุคคลที่ไว้วางใจรับทราบคิดเป็นร้อยละ 61.76 (x–=3.29, S.D.=1.031) สิ่งที่ผู้ป่วยรู้สึกน้อยที่สุดคือ ไม่ต้องการพูดถึงการเจ็บป่วยครั้งนี้ร้อยละ 5.88 (x–=3.32, S.D.=0.912) ค่าคะแนนเฉลี่ยของความไม่มั่นคงก่อนและหลังให้โปรแกรมแรงสนับสนุนทางสังคมในกลุ่มตัวอย่างมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < .000 ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า การใช้โปรแกรมแรงสนับสนุนทางสังคม ช่วยให้ความไม่มั่นคงในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดลดลง ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ลดความไม่มั่นคงในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดในหน่วยเคมีบำบัดต่อไป

This quasi-experimental research was a group pretest-posttest design. The purposes of this study were to explore the characteristics of vulnerability and the effect of social support program on vulnerability in people with breast cancer under chemotherapy. Thirty-four eligible patients with purposive sampling were recruited from a cancer center (a tertiary care hospital) located in the western part of Thailand. The tools were composed of a demographic information recording form, the vulnerability questionnaire, and social support program (SSP). Descriptive statistics including
percentages, means, and standard deviations and the paired t-test were used to analyze data. The results revealed that in terms of vulnerability, patients reported feelings affecting the treatment at most including anxiety feeling 64.71% (x–=1.44, S.D.=0.660), uncertain feeling 61.76% (x–=1.50, S.D.=0.749), the need to inform family members or trust persons 61.76 (x–=3.29, S.D.=1.031), respectively. Patients reported least scores of the item of not wanting to discuss about the symptom 5.88% (x–=3.32, S.D.=0.912). After receiving the social support program, the average score of vulnerability was significantly higher than that of before at the significant level of p<.000). SSP could decrease the vulnerability in patients with breast cancer under chemotherapy. Therefore, the SSP can be applied to lower the vulnerability of patients with breast cancer under chemotherapy in other centers.

นภรรสสร กูรมาภิรักษ์ นภาพร แก้วนิมิตชัย และ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย. (2558). ผลของโปรแกรมแรงสนับสนุนทางสังคมต่อความไม่มั่นคง ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด. วารสาร มฉก. วิชาการ,19 (37), 105-116.

อ่านบทความฉบับเต็ม

การจัดการความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำที่บ้านแบบมีส่วนร่วมโดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
ก.พ. 11th, 2016 by supaporn

การจัดการความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำที่บ้านแบบมีส่วนร่วมโดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน (Risk Management Participation for Preventing the Recurrent of Congestive Heart Failure at Home by Community Nurse Practitioners)

บทคัดย่อ:

การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำ พัฒนารูปแบบการจัดการความเสี่ยงร่วมกันระหว่างผู้ป่วย ครอบครัว และบุคลากรสาธารณสุข และเพื่อศึกษาผลของรูปแบบการจัดการความเสี่ยงที่พัฒนาขึ้นโดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ ผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดครั้งแรกอายุ 60 ปีขึ้นไป อาศัยประจำในชุมชนเซนต์หลุยส์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 30 ราย กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ ครอบครัว/ผู้ดูแล แพทย์อายุรกรรมหัวใจ พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร นักโภชนาการ และนักกายภาพบำบัด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ได้ความแม่นตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.92 และค่าความเชื่อมั่นโดยรวมเท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน paired t-test และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำอย่างมีนัยสำคัญ คือ การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำ สำหรับปัจจัยครอบครัว คือ การรับรู้ ความรุนแรงของภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำในผู้ป่วยรูปแบบการจัดการความเสี่ยงที่พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนโน้มน้าวให้พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) ร่วมกันรับรู้ปัจจัยเสี่ยง 2) ร่วมกันกำหนดบทบาทใหม่ในการประเมินหรือวิเคราะห์ความเสี่ยง 3) ลงมือปฏิบัติจัดการความเสี่ยงโดยผู้ป่วย ครอบครัว/ผู้ดูแล และบุคลากรสาธารณสุข 4) ติดตามผลลัพธ์การจัดการความเสี่ยงกิจกรรมที่ร่วมกันออกแบบ คือ คู่มือป้องกันและแนวปฏิบัติการจัดการความเสี่ยงเพื่อป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำที่บ้านสำหรับบุคลากรสาธารณสุข ภายหลังการพัฒนารูปแบบ พบว่า ผู้ป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) น้ำหนักตัวลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันภาวะลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ด้านครอบครัว/ผู้ดูแล พบว่า การรับรู้ความรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และพฤติกรรมการป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำในผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
The purpose of this action research aimed to study the risk factors of congestive heart failure recurrent situation, develop the system of risk management in parcipitation among patients, family and medical profession and study the result of the developed system by Community Nurse Practitioners. Major perspective samples were 30 ischemic heart disease’patients aged 60 years or higher resided in St.Louis community Bangkok Metropolitan. The first thing doctor found was the occurrence of CHF and treated was continuingly tor at least 1 year at St.Louis hospital. Minor perspective samples were relations , caregivers, cardiologist, community nurse practitioners, profesional nurses, pharmacists, nutritionists and physical therapists. Data collection was carried out using the questionnaires, interviews and participatory notifications. Data analysis was performed using paired t-test and content analysis.The result showed that the risk factors of CHF’s recurrent situation included patient and family factors. Patient factor was perceived barriers, family factor was perceived severity. The developed risk management system by Community Nurse Practitioners consisted 4 steps. First, know the risk factors together; secondly,set the new role for risk evaluation and analysis, thirdly, doing the risk management in action by relations caregivers and medical profession: and finally, follow the result of the risk managements. The risk management activity was the manual of the recurrent CHF prevention for patients, relations and caregivers, included the symptoms observation and symptoms of the recurrent situation at home, and the way to management risk of the recurrent situation for medical profession. After the system was developed, health behavior developed significantly (p<0.05); patient’s weight after developed system was reduced significantly (p<0.05), perceived barriers were reduced significantly (p<0.05), and relations and caregiver found that perceived severity was increased significantly (p<0.05).

นิตยา ทานันท์ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย  กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม จิตร สิทธีอมร. (2558). การจัดการความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำที่บ้านแบบมีส่วนร่วมโดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. วารสาร มฉก. วิชาการ ,19 (37), 89-103.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa