SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความฉลาดทางอารมณของนักศึกษาในหลักสูตรสายวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
มี.ค. 5th, 2017 by rungtiwa

ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความฉลาดทางอารมณของนักศึกษาในหลักสูตรสายวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Factors Affecting Emotional Quotient of Students in Health Science Curriculums at Huachiew Chalermprakiet University

 

นิลาวรรณ งามขำ ปทุมมาศ กั้นหยั่นทอง อติญญา สุสิวงศ กนกวรรณ จิตระบูรณ พิมพณัฐชยา นุชสิริ นิตยา ชัยชนะ พรอารดา อยูรักษ อาภรณ บุญฉิม และศุภักษณา สรรพลุน. (2559).
ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความฉลาดทางอารมณของนักศึกษาในหลักสูตรสายวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วารสาร มฉก.วิชาการ 20(39), 45-56.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

การเพิ่มเชาว์อารมณ์ (Emotional Quotient) ด้วยการฝึกสมาธิ : บทพิสูจน์การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน
มี.ค. 5th, 2016 by rungtiwa

การเพิ่มเชาว์อารมณ์  (Emotional Quotient) ด้วยการฝึกสมาธิ : บทพิสูจน์การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน

บทคัดย่อ:

เชาว์อารมณ์ (Emotional Quotient) ถือเป็นส่วนประกอบที่สำคัญส่วนหนึ่งในการดำเนินชีวิต เนื่องจากเชาว์อารมณ์เป็นเรื่องของการบริหารจัดการความรู้สึกและอารมณ์ภายในตนและการบริหารจัดการอารมณ์ของตนในการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างตนกับคนอื่น การฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาก็เป็นวิธีหนึ่งของการพัฒนาเชาว์อารมณ์ที่ทำให้ผู้ฝึกสามารถควบคุมภาวะทางอารมณ์เพื่อสามารถบริหารจัดการความรู้สึกของตนและการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างตนกับผู้อื่นได้ เพราะการฝึกสมาธิ คือ การสะสมพลังจิตและเราก็สามารถนำพลังจิตไปใช้ในการทำงานได้ ยิ่งมีพลังจิตมากเท่าใด งานก็ยิ่งมีประสิทธิภาพมากเท่านั้น ผู้ไม่มีพลังจิตจึงเป็นผู้ที่มีอารมณ์หงุดหงิด ขาดการไตร่ตรองที่ทำให้มีประสิทธิภาพ ที่สำคัญการพัฒนาเชาว์อารมณ์ด้วยการฝึกสมาธิจะทำให้ผู้ฝึกได้คุณภาพชีวิตที่ดีด้วย

อรรถสิทธิ์ สุนาโท. (2548). การเพิ่มเชาว์อารมณ์  (Emotional Quotient) ด้วยการฝึกสมาธิ : บทพิสูจน์การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน. วารสาร มฉก.วิชาการ 8 (16), 100-112.

อ่านบทความฉบับเต็ม

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa