SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
กฐินพระราชทาน ประจำปี ๒๕๕๙
พ.ย. 19th, 2016 by namfon

การทอดกฐินเป็นประเพณีสำคัญของพุทธศาสนิกชนไทย ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลายาวนานกว่า ๒,๕๐๐ ปี โดยการถวายผ้าพระกฐินของมหากษัตริย์จัดเป็นพระราชพิธีสำคัญประจำปี ช่วงเวลาที่กำหนดระหว่างวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ จะทำก่อนหรือหลังจากนี้ไม่ได้  ในปีนี้อยู่ระหว่างวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

จากเว็บไซต์ของกรมการศาสนา ได้กล่าวถึง ประวัติการทอดกฐิน ไว้ดังนี้

กฐิน ตามอรรถกถาฎีกาต่างๆ กล่าวไว้มี ๒ ลักษณะ คือ

๑. จุลกฐิน เป็นกิจกรรมสำคัญที่ทุกฝ่ายจะต้องช่วยกันทำให้แล้วเสร็จภายในกำหนด วันหนึ่ง นับตั้งแต่การเก็บฝ้าย ปั่นฝ้าย กรอ ทอ ตัด เย็บ ย้อม ทำให้เป็นขันฑ์ ได้ ขนาดตามวินัย แล้วทอดถวายให้แล้วเสร็จในวันนั้น

๒. มหากฐิน เป็นการจัดหาผ้ามาเป็นองค์กฐิน พร้อมทั้งเครื่องไทยธรรม บริวารเครื่องกฐิน จำนวนมาก ไม่ต้องทำโดยรีบด่วน เพื่อจะได้มีส่วนหาทุนในการบำรุงวัด เช่น การบูรณะซ่อมแซมศาสนสถานภายในวัด

การทอดกฐินในปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน

๑. พระกฐินหลวง เป็น พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็น พุทธมามกะและเอกอัครพุทธศาสนูปถัมภก เสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐินด้วยพระองค์เอง หรือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระราชินี พระราชโอรส พระราชธิดา เสด็จพระราชดำเนินทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ รวมทั้ง พระกฐินที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์  ราชสกุล องคมนตรี หรือผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรให้เสด็จฯ แทน พระองค์นำไปถวายยังพระอารามหลวงสำคัญ ๑๖ พระอาราม ที่สงวนไว้ไม่ให้มีการขอพระราชทาน คือ Read the rest of this entry »

การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่าย ผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียว
ก.พ. 26th, 2016 by rungtiwa

การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่าย ผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียว

The Development of Discharge Planning Model for Medical Patients at Hua Chiew Hospital

บทคัดย่อ:

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป้วยอายุรกรรมและเพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบวางแผนจำหน่วยผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียววิธีดำเนินการวิจัย แบงเปน 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปญหาของผูปวย ครอบครัว และผูใหบริการขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหนาย ขั้นตอนที่ 3 การประเมินผลการนำรูปแบบวางแผนจำหนายไปใช ประชากรและกลุมตัวอยางประกอบดวย ผูปวยอายุรกรรมที่มีอายุมากกวา 56 ปโดย แบงออกเปน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มศึกษาจำนวน 30 ราย และกลุ่มเปรียบเทียบที่ไม่ได้รูปแบบวางแผนจำหน่าย จำนวน 140 ราย ครอบครัวของผูปวยที่เปนกลุมศึกษา และผูใหบริการ ซึ่งไดแก แพทยอายุรกรรม พยาบาลหัวหนาหอผูปวย พยาบาลที่ปฏิบัติงานประจำหอผูปวยสามัญหญิง หัวหนาฝายการพยาบาล และหัวหนาศูนยพัฒนาคุณภาพ นักกำหนดอาหาร นักกายภาพบำบัด เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ประกอบดวย 1) รายงานแบบประเมินและแบบบันทึกขอมูลจากผูปวย และ 2) เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมปัญหาการวางแผนจำหน่ายจากญาติและครอบครัวผู้ป่วย รวมทั้งจากผู้ให้บริการการวิเคราะห์ขอมูล รายงานสถิติตาง ๆ ดวยคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคารักษาพยาบาลและวันนอนโรงพยาบาล ขอมูลที่ไดจากญาติและครอบครัวผูปวยและผูใหบริการดวยการวิเคราะหเนื้อหา ระดับและคะแนนความเสี่ยงในการดูแลตอเนื่องหลังจำหนายวิเคราะหดวยไคสแคว เปรียบเทียบผูปวยที่นำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปใชกับกลุมผูปวยที่ใชรูปแบบเดิมดวย t-test ไดรูปแบบวางแผนจำหนายพื้นฐานหลักการของ A-B-C และกระบวนการพยาบาลแบงออกไดเปน 3 ขั้นตอน คือ 2.1) ขั้นการประเมินความเสี่ยงและความตองการการดูแลของผูปวยหลังจำหนาย 10 ดาน คือ 1) อายุ 2) ความเปนอยู/แรงสนับสนุนทางสังคม 3) ระดับสติปญญาและการรับรูนึกคิด 4) การเคลื่อนไหว 5) ขอจำกัดเกี่ยวกับประสาทสัมผัส 6) ประวัติการเจ็บปวยการนอนโรงพยาบาล/การเขาหองฉุกเฉินในชวง 3 เดือนที่ผ่านมา 7) จำนวนยาที่รับประทาน 8) จำนวนปัญหาโรคที่เป็นอยู่ 9) แบบแผนพฤติกรรม Read the rest of this entry »

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa