SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตทางอายุรศาสตร์ Critical care : Mdical Nursing
เม.ย. 19th, 2016 by sirinun

การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตทางอายุรศาสตร์

การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตทางอายุรศาสตร์

ผู้ป่วยภาวะวิกฤตเป็นผู้ป่วยที่เจ็บป่วยเรุนแรง เฉียบพลัน ที่ต้องเร่งด่วนในการตรวจวินิจฉัย รักษา และให้การดูแลที่เป็นมาตรฐานรวดเร็ว เหมาะสม  เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะวิกฤตและมีชีวิต พยาบาลผู้ป่วยวิกฤตจึงมีบทบาทที่สำคัญในการดูแลช่วยเหลือให้ผู้ป่วยได้รับการบริการที่มีคุณภาพ ปลอดภัยจากความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยต้องพิการ ดังนั้นหนังสือเล่มนี้จะช่วยแนะแนวทางความรู้ในเรื่องทฤษฎีการพยาบาล และการดูแลสุขภาวะผู้ป่วยวิกฤตได้เป็นอย่างดี หมวดหมู่ WY154 ก494 2558

รายการอ้างอิง

การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตทางอายุรศาสตร์ (Critical care : medical nursing). (2558).  เสาวนีย์ เนาวพาณิช, วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : งานการพยาบาลอายุรศาสตร์และจิตเวชศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล และสาขาหทัยวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล.

การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่าย ผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียว
ก.พ. 26th, 2016 by rungtiwa

การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่าย ผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียว

The Development of Discharge Planning Model for Medical Patients at Hua Chiew Hospital

บทคัดย่อ:

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป้วยอายุรกรรมและเพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบวางแผนจำหน่วยผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลหัวเฉียววิธีดำเนินการวิจัย แบงเปน 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปญหาของผูปวย ครอบครัว และผูใหบริการขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหนาย ขั้นตอนที่ 3 การประเมินผลการนำรูปแบบวางแผนจำหนายไปใช ประชากรและกลุมตัวอยางประกอบดวย ผูปวยอายุรกรรมที่มีอายุมากกวา 56 ปโดย แบงออกเปน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มศึกษาจำนวน 30 ราย และกลุ่มเปรียบเทียบที่ไม่ได้รูปแบบวางแผนจำหน่าย จำนวน 140 ราย ครอบครัวของผูปวยที่เปนกลุมศึกษา และผูใหบริการ ซึ่งไดแก แพทยอายุรกรรม พยาบาลหัวหนาหอผูปวย พยาบาลที่ปฏิบัติงานประจำหอผูปวยสามัญหญิง หัวหนาฝายการพยาบาล และหัวหนาศูนยพัฒนาคุณภาพ นักกำหนดอาหาร นักกายภาพบำบัด เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ประกอบดวย 1) รายงานแบบประเมินและแบบบันทึกขอมูลจากผูปวย และ 2) เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมปัญหาการวางแผนจำหน่ายจากญาติและครอบครัวผู้ป่วย รวมทั้งจากผู้ให้บริการการวิเคราะห์ขอมูล รายงานสถิติตาง ๆ ดวยคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคารักษาพยาบาลและวันนอนโรงพยาบาล ขอมูลที่ไดจากญาติและครอบครัวผูปวยและผูใหบริการดวยการวิเคราะหเนื้อหา ระดับและคะแนนความเสี่ยงในการดูแลตอเนื่องหลังจำหนายวิเคราะหดวยไคสแคว เปรียบเทียบผูปวยที่นำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปใชกับกลุมผูปวยที่ใชรูปแบบเดิมดวย t-test ไดรูปแบบวางแผนจำหนายพื้นฐานหลักการของ A-B-C และกระบวนการพยาบาลแบงออกไดเปน 3 ขั้นตอน คือ 2.1) ขั้นการประเมินความเสี่ยงและความตองการการดูแลของผูปวยหลังจำหนาย 10 ดาน คือ 1) อายุ 2) ความเปนอยู/แรงสนับสนุนทางสังคม 3) ระดับสติปญญาและการรับรูนึกคิด 4) การเคลื่อนไหว 5) ขอจำกัดเกี่ยวกับประสาทสัมผัส 6) ประวัติการเจ็บปวยการนอนโรงพยาบาล/การเขาหองฉุกเฉินในชวง 3 เดือนที่ผ่านมา 7) จำนวนยาที่รับประทาน 8) จำนวนปัญหาโรคที่เป็นอยู่ 9) แบบแผนพฤติกรรม Read the rest of this entry »

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa