SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผูปวยผาตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ: จากการสังเคราะหงานวิจัยสูการนำไปปฏิบัติ
มี.ค. 5th, 2017 by rungtiwa

แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผูปวยผาตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ : จากการสังเคราะหงานวิจัยสูการนำไปปฏิบัติ

The Clinical Nursing Practice Guideline for Patients with Coronary Artery Bypass Grafting : Research Synthesis for Application

 

วนิดา ดุรงคฤทธิชัย ณัฐณภัทร วัฒนเดชาสกุล รัชนี ผิวผอง และสุวรรณี มงคลรุงเรือง. (2559). แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผูปวยผาตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ : จากการสังเคราะหงานวิจัยสูการนำไปปฏิบัติ. วารสาร มฉก.วิชาการ 20(39), 143-156.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

ผลของการใชโอโซนรวมกับความรอนในการกำจัดเชื้อ Salmonella Typhimurium, Escherichia coli และ Saccharomyces cerevisiae ในน้ำตาลสด น้ำลำไย และน้ำมะพราว
มี.ค. 5th, 2017 by rungtiwa

ผลของการใชโอโซนรวมกับความรอนในการกำจัดเชื้อ Salmonella Typhimurium, Escherichia coli และ Saccharomyces cerevisiae ในน้ำตาลสด น้ำลำไย และน้ำมะพราว

Combination Effect of Ozone and Heat Treatments for the Inactivation of Salmonella Typhimurium, Escherichia coli and Saccharomyces cerevisiae in Coconut Syrup,
Dried Longan Drink and Coconut Juice

 

วรพรรณี เผาทองศุข และจำรูญศรี พุมเทียน . (2559). ผลของการใชโอโซนรวมกับความรอนในการกำจัดเชื้อ Salmonella Typhimurium, Escherichia coli และ Saccharomyces cerevisiae ในน้ำตาลสด น้ำลำไย และน้ำมะพราว. วารสาร มฉก.วิชาการ 20 (39), 119-131.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

การสำรวจปญหาและพฤติกรรมการใชยาผลิตภัณฑเสริมอาหารและสมุนไพรของผูสูงอายุ กรณีศึกษาชุมชนศีรษะจรเขนอย จังหวัดสมุทรปราการ
มี.ค. 5th, 2017 by rungtiwa

การสำรวจปญหาและพฤติกรรมการใชยาผลิตภัณฑเสริมอาหารและสมุนไพรของผูสูงอายุ กรณีศึกษาชุมชนศีรษะจรเขนอย จังหวัดสมุทรปราการ

The Survey of Medicine, Food Supplement and Herbal Products Used Problems Among Elderly A Case Study at the Community of Tumbon Srisa Chorakhe Noi, Samut Prakan Province

ปิยะวัน วงษบุญหนัก ปวีณา วองตระกูล หรรษา มหามงคล และวรัญญา เนียมขำ . (2559). การสำรวจปญหาและพฤติกรรมการใชยาผลิตภัณฑเสริมอาหารและสมุนไพรของผูสูงอายุ กรณีศึกษาชุมชนศีรษะจรเขนอย จังหวัดสมุทรปราการ. วารสาร มฉก.วิชาการ 20 (39), 97-108.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความฉลาดทางอารมณของนักศึกษาในหลักสูตรสายวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
มี.ค. 5th, 2017 by rungtiwa

ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความฉลาดทางอารมณของนักศึกษาในหลักสูตรสายวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Factors Affecting Emotional Quotient of Students in Health Science Curriculums at Huachiew Chalermprakiet University

 

นิลาวรรณ งามขำ ปทุมมาศ กั้นหยั่นทอง อติญญา สุสิวงศ กนกวรรณ จิตระบูรณ พิมพณัฐชยา นุชสิริ นิตยา ชัยชนะ พรอารดา อยูรักษ อาภรณ บุญฉิม และศุภักษณา สรรพลุน. (2559).
ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความฉลาดทางอารมณของนักศึกษาในหลักสูตรสายวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วารสาร มฉก.วิชาการ 20(39), 45-56.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

ความสัมพันธระหวางระดับไกลเคตฮีโมโกลบินและภาวะไมโครอัลบูมินในปสสาวะของผูปวยโรคเบาหวาน
มี.ค. 5th, 2017 by rungtiwa

ความสัมพันธระหวางระดับไกลเคตฮีโมโกลบินและภาวะไมโครอัลบูมินในปสสาวะของผูปวยโรคเบาหวาน

The Relationship Between Glycated Hemoglobin (HbA1C) and Microalbuminuria in Diabetes Patients

 

นนทยา ทางเรือ เทศทัศน คำบุดดี และอรุณ สารพงษ์. (2559). ความสัมพันธระหวางระดับไกลเคตฮีโมโกลบินและภาวะไมโครอัลบูมินในปสสาวะของผูปวยโรคเบาหวาน. วารสาร มฉก.วิชาการ 20 (39), 31-43.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

พฤติกรรมปองกันภาวะแทรกซอนของผูปวยโรคเบาหวานที่มารับบริการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลแหงหนึ่ง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
มี.ค. 5th, 2017 by rungtiwa

พฤติกรรมปองกันภาวะแทรกซอนของผูปวยโรคเบาหวานที่มารับบริการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลแหงหนึ่ง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

Behavior in Prevention of Complications of Diabetic Patients in a Health Promoting Hospital, Bang Phli District, Samutprakan Province

 

ตวงพร กตัญุตานนท จินตนา เทพพันธ สุพรรณี ฉ่ำเย็นอุรา เบญจมาภรณ จันทหงษ สุภาพร บุญอินทร เพ็ญพิสุทธิ์ แหนมเชย รัชฎาพร ทองประดับ และอรณิชา วังคีรี. (2559). พฤติกรรมปองกันภาวะแทรกซอนของผูปวยโรคเบาหวานที่มารับบริการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลแหงหนึ่ง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสาร มฉก.วิชาการ 20 (39), 15-29.

อ่านบทความฉบับจริง

 

ผลผลิตกรดแลคติกจากกระบวนการหมักเศษผลไม
มี.ค. 5th, 2017 by rungtiwa

ผลผลิตกรดแลคติกจากกระบวนการหมักเศษผลไม

Lactic Acid Production from Fruit Waste Fermentation

 

ศศิธร นนทา สมพงศ โอทอง และนุชนาถ แชมชอย. (2559). ผลผลิตกรดแลคติกจากกระบวนการหมักเศษผลไม. วารสาร มฉก.วิชาการ 20 (39), 1-14.

อ่านบทความฉบับเต็ม

พูดจีนเก่งมาก! (Speaking Chinese fluently)
ม.ค. 28th, 2017 by rungtiwa

     พูดจีนเก่งมาก! (Speaking Chinese fluently)

9789744143709-247x350

ในหลายๆ เดือนก่อน บุคลากรของศูนย์บรรณสารสนเทศ ได้เข้ารับการพัฒนาเพื่อให้สามารถใช้ภาษาจีนได้ ในระดับเบื้องต้น คือ พอจะสื่อสารได้บ้าง เนื่องจาก มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มียุทธศาสตร์เน้นในเรื่องจีนศึกษาและวิทยาศาสตร์สุขภาพ บุคลากรสายสนับสนุนของศูนย์บรรณสารสนเทศ จึงยกทีมกันเข้าคอร์สเรียน ภาษาจีนกันเป็นกลุ่มใหญ่ แบ่งได้ 2 กลุ่ม

ผู้เขียน พอจะพูดได้อยู่บ้างแต่นิดหน่อย ดีใจที่ได้เข้ารับการฝึกฝนอย่างเป็นทางการและจริงจัง จาก เหล่าซือ ที่เดินทางมาจากประเทศจีน แม้ว่าจะเป็นหลักสูตรสั้นๆ แต่ก็พอจะได้อยู่บ้าง และต้องอยู่ที่พวกเรากลับมาฝึกต่อเองอีกด้วย เลยหาหนังสือมาเพื่อฝึกฝนด้วยตนเอง ในศูนย์บรรณสารสนเทศ มีหลายเล่มค่ะ แต่ขอเลือก  “พูดจีนเก่งมาก!” (Speaking Chinese fluently) มานำเสนอค่ะ ผู้เขียน อ่านแล้วชอบมาก ขอแนะนำต่อนะคะ

“พูดจีนเก่งมาก!” (Speaking Chinese fluently) เป็นหนังสือที่รวบรวมประโยคภาษาจีนที่ใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมทั้งสำนวนที่ใช้บ่อยในสถานการณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การจองห้องพักโรงแรม การถามทาง การซื้อของ การสังสรรค์ ไปจนถึงการติดต่อธุรกิจ นำเสนอในรูปแบบการ์ตูนแสนน่ารัก เหมาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่จะเดินทางไปเรียน ท่องเที่ยว หรือทำงานในประเทศจีน เช่น เข้าพักในโรงแรม  ประโยคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน  ถามทาง งานสังสรรค์  การยืมและคืน เช่ารถ  ชาวต่างชาติในประเทศจีนและซื้อของเป็นต้น

ท่านใดสนใจ หนังสือเล่มนี้ อยู่ที่หมวดหมู่ PL1121.T5 ห353พ 2558 หนังสือทั่วไปชั้น 3 

รายการอ้างอิง

หวงเหล่าซือ และอารีย์วัลย์ บุญอากาศ. (2558). “พูดจีนเก่งมาก!” (Speaking Chinese fluently).  กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.

ภาวะซึมเศร้า
ก.ย. 12th, 2016 by rungtiwa

ภาวะซึมเศร้า

Depression

นันทิรา หงส์ศรีสุวรรณ์. (2559). ภาวะซึมเศร้า. วารสาร มฉก. วิชาการ, 19(38), 105-118.

บทคัดย่อ

ภาวะซึมเศร้า หมายถึง ภาวะจิตใจที่แสดงออกถึงความผิดปกติของอารมณ์ เช่น อารมณ์เศร้า ไม่มีความสุข เบื่อหน่าย หดหู่ ท้อแท้ สิ้นหวัง เซื่องซึม นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ขาดสมาธิ วิตกกังวล มองโลกในแง่ลบ ภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหาสุขภาพจิตที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนทั้งคนปกติ ผู้ป่วยทางกาย และผู้ป่วยทางจิตเวช อาจเกิดขึ้นได้ตั้งแต่ภาวะซึมเศร้าธรรมดาจนถึงภาวะซึมเศร้ารุนแรง หากไม่ได้รับการรักษาจะป่วยเป็นโรคซึมเศร้าในที่สุด ซึ่งโรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติของจิตใจ โดยมีภาวะซึมเศร้าร่วมกับขาดความเคารพตนเอง รวมทั้งมีภาวะสิ้นยินดี คือ ไม่มีความพึงพอใจในกิจกรรมที่โดยปกติเป็นที่น่าพึงพอใจ ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อคุณภาพชีวิตและอาจนำไปสู่การฆ่าตัวตายในที่สุด ผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้ารุนแรงหรือเป็นโรคซึมเศร้าและไม่ได้รับการรักษาจะจบชีวิตด้วยการฆ่าตัวตาย ซึ่งอาจเป็นเพราะผู้ป่วยไม่ทราบว่าตนเองป่วยเป็นโรคซึมเศร้า และไม่ตระหนักถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นหากไม่ได้รับการรักษา ภาวะซึมเศร้ามีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย อาทิ ความผิดปกติทางพันธุกรรม ความผิดปกติของสารชีวเคมีในสมอง ปัญหาทางด้านจิตใจ และปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม จะเห็นได้ว่าสาเหตุของการเกิดภาวะซึมเศร้าเกิดจากปัจจัยภายในและภายนอก ทั้งที่สามารถควบคุมได้และควบคุมไม่ได้ Read the rest of this entry »

การประเมินผลทางเทคนิคนิติวิทยาศาสตร์เพื่อตรวจหา และวิเคราะห์สารเสพติดจากการชันสูตรศพในประเทศไทย
ก.ย. 12th, 2016 by rungtiwa

การประเมินผลทางเทคนิคนิติวิทยาศาสตร์เพื่อตรวจหา และวิเคราะห์สารเสพติดจากการชันสูตรศพในประเทศไทย

Evaluation of Forensic Techniques for Postmortem Drug Detection and Identification in Thailand

Panthip Rattanasinganchan. (2559). การประเมินผลทางเทคนิคนิติวิทยาศาสตร์เพื่อตรวจหา และวิเคราะห์สารเสพติดจากการชันสูตรศพในประเทศไทย. วารสาร มฉก. วิชาการ, 19(38), 93-103.

บทคัดย่อ

Despite the extensive research done on forensic techniques for postmortem drug detection and identification, the unique perspective of developing countries has yet to be properly investigated. These are countries where drug fatalities are frequent, but available forensic resources are meager, especially when compared to such resources of more economically developed countries. This work attempts to address this issue by reviewing six of the most frequently used forensic techniques for postmortem drug detection and identification, and evaluate them based on a fixed set of objective criteria, including sensitivity, specificity, expertise cost and need for major instrumentation. The results are then compared qualitatively and used to develop alternative best-practice recommendations that align better with the socioeconomic realities of developing countries – with a particular focus on Thailand, a country with a major problem of drug abuse in the Southeast-Asian region. These recommendations may enable a more efficient allocation of forensic resources in countries that would benefit from it the most. Read the rest of this entry »

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa