SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
การส่งเสริมพัฒนาการเด็กป่วยวัยก่อนเรียนที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ก.พ. 18th, 2016 by rungtiwa

การส่งเสริมพัฒนาการเด็กป่วยวัยก่อนเรียนที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล

The strategies for promoting illness pre-school age development during hospitalization

กมลทิพย์  ขลังธรรมเนียม. (2557). การส่งเสริมพัฒนาการเด็กป่วยวัยก่อนเรียนที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล. วารสาร มฉก.วิชาการ 17 (34), 155-167.

อ่านบทความฉบับเต็ม

แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผูดูแลผูสูงอายุที่ปวยเปนโรคหลอดเลือดสมองเพื่อเฝาระวังการเกิดภาวะซึมเศรา
ก.พ. 12th, 2016 by supaporn

แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผูดูแลผูสูงอายุที่ปวยเปนโรคหลอดเลือดสมองเพื่อเฝาระวังการเกิดภาวะซึมเศรา

The Clinical Nursing Practice Guideline for Caregiver to Depression Surveillance of Post Stroke Elderly People in Community

วรนุช ทองไทย วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย และ กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม. (2557). แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผูดูแลผูสูงอายุที่ปวยเปนโรคหลอดเลือดสมองเพื่อเฝาระวังการเกิดภาวะซึมเศรา. วารสาร มฉก. วิชาการ 18 (35), 13-28.

อ่านบทความฉบับเต็ม

การจัดการความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำที่บ้านแบบมีส่วนร่วมโดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
ก.พ. 11th, 2016 by supaporn

การจัดการความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำที่บ้านแบบมีส่วนร่วมโดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน (Risk Management Participation for Preventing the Recurrent of Congestive Heart Failure at Home by Community Nurse Practitioners)

บทคัดย่อ:

การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำ พัฒนารูปแบบการจัดการความเสี่ยงร่วมกันระหว่างผู้ป่วย ครอบครัว และบุคลากรสาธารณสุข และเพื่อศึกษาผลของรูปแบบการจัดการความเสี่ยงที่พัฒนาขึ้นโดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ ผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดครั้งแรกอายุ 60 ปีขึ้นไป อาศัยประจำในชุมชนเซนต์หลุยส์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 30 ราย กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ ครอบครัว/ผู้ดูแล แพทย์อายุรกรรมหัวใจ พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร นักโภชนาการ และนักกายภาพบำบัด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ได้ความแม่นตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.92 และค่าความเชื่อมั่นโดยรวมเท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน paired t-test และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำอย่างมีนัยสำคัญ คือ การรับรู้อุปสรรคในการป้องกันการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำ สำหรับปัจจัยครอบครัว คือ การรับรู้ ความรุนแรงของภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำในผู้ป่วยรูปแบบการจัดการความเสี่ยงที่พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนโน้มน้าวให้พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) ร่วมกันรับรู้ปัจจัยเสี่ยง 2) ร่วมกันกำหนดบทบาทใหม่ในการประเมินหรือวิเคราะห์ความเสี่ยง 3) ลงมือปฏิบัติจัดการความเสี่ยงโดยผู้ป่วย ครอบครัว/ผู้ดูแล และบุคลากรสาธารณสุข 4) ติดตามผลลัพธ์การจัดการความเสี่ยงกิจกรรมที่ร่วมกันออกแบบ คือ คู่มือป้องกันและแนวปฏิบัติการจัดการความเสี่ยงเพื่อป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำที่บ้านสำหรับบุคลากรสาธารณสุข ภายหลังการพัฒนารูปแบบ พบว่า ผู้ป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) น้ำหนักตัวลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันภาวะลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ด้านครอบครัว/ผู้ดูแล พบว่า การรับรู้ความรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และพฤติกรรมการป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำในผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
The purpose of this action research aimed to study the risk factors of congestive heart failure recurrent situation, develop the system of risk management in parcipitation among patients, family and medical profession and study the result of the developed system by Community Nurse Practitioners. Major perspective samples were 30 ischemic heart disease’patients aged 60 years or higher resided in St.Louis community Bangkok Metropolitan. The first thing doctor found was the occurrence of CHF and treated was continuingly tor at least 1 year at St.Louis hospital. Minor perspective samples were relations , caregivers, cardiologist, community nurse practitioners, profesional nurses, pharmacists, nutritionists and physical therapists. Data collection was carried out using the questionnaires, interviews and participatory notifications. Data analysis was performed using paired t-test and content analysis.The result showed that the risk factors of CHF’s recurrent situation included patient and family factors. Patient factor was perceived barriers, family factor was perceived severity. The developed risk management system by Community Nurse Practitioners consisted 4 steps. First, know the risk factors together; secondly,set the new role for risk evaluation and analysis, thirdly, doing the risk management in action by relations caregivers and medical profession: and finally, follow the result of the risk managements. The risk management activity was the manual of the recurrent CHF prevention for patients, relations and caregivers, included the symptoms observation and symptoms of the recurrent situation at home, and the way to management risk of the recurrent situation for medical profession. After the system was developed, health behavior developed significantly (p<0.05); patient’s weight after developed system was reduced significantly (p<0.05), perceived barriers were reduced significantly (p<0.05), and relations and caregiver found that perceived severity was increased significantly (p<0.05).

นิตยา ทานันท์ วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย  กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม จิตร สิทธีอมร. (2558). การจัดการความเสี่ยงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวซ้ำที่บ้านแบบมีส่วนร่วมโดยพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. วารสาร มฉก. วิชาการ ,19 (37), 89-103.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa