SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
การบริหาร : การสร้างแรงจูงใจในที่ทำงาน
มี.ค. 13th, 2016 by rungtiwa

การบริหาร : การสร้างแรงจูงใจในที่ทำงาน

บทคัดย่อ:

ความต้องการและแรงจูงใจเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ ดังนั้น ผู้บริหารจึงมีความจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับเรื่องดังกล่าวนี้ เพื่อการบริหารที่มุ่งหวังผลจากความสามัคคีของบุคคลในองค์การ ตลอดจนการสร้างแรงเสริมและความกระตือรือร้น จากหลักการบริหารที่กล่าวว่าองค์การเป็นความสัมพันธ์ระหว่างคนและงาน องค์การจึงเป็นความเกี่ยวข้องระหว่างคนและงาน ทั้งนี้ เพราะคนเป็นผู้สร้างงานขึ้น นั่นคือ การที่คนได้สร้างองค์การขึ้นมานั่นเอง ในขณะที่งาน ซึ่งเป็นระบบที่เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในการที่คนใช้เป็นต้นแบบในการทำงาน ดังนั้น งานจึงเป็นสิ่งที่ควบคุมคนด้วยเช่นกัน ด้วยเหตุนี้คนและงานจึงเอื้อประโยชน์ต่อกัน เพราะคนเป็นผู้สร้างงาน ในขณะที่งานเป็นสิ่งที่ใช้ควบคุมพฤติกรรมของคนให้สอดคล้องกันในการทำงานร่วมกัน จากความสัมพันธ์ดังกล่าวทั้งหมดนี้ จึงจะเห็นได้ว่า หากบุคลากรในองค์การ ได้รับแรงจูงใจในการทำงานให้เขาเหล่านั้น ได้บรรลุถึงความต้องการของตนเองแล้ว ก็จะก่อให้เกิดประสิทธิผลในการทำงาน และประสิทธิผลโดยรวมขององค์การ

สถาพร ปิ่นเจริญ. (2547). การบริหาร : การสร้างแรงจูงใจในที่ทำงาน. วารสาร มฉก.วิชาการ 7 (14), 45-50.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นตอปจจัยแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมตัวแทนผูรับจัดการขนสงสินคาระหวางประเทศในองคกรธุรกิจไทยกับองคกรธุรกิจขามชาติ
ก.พ. 12th, 2016 by supaporn

การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นตอปจจัยแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมตัวแทนผูรับจัดการขนสงสินคาระหวางประเทศในองคกรธุรกิจไทยกับองคกรธุรกิจขามชาติ

Comparative Study of Motivation Factors of Freight Forwarder Industries Between
Freight Forwarder Employees in Thai Companies and Multinational Companies

กรกช วนกรกุล. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นตอปจจัยแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมตัวแทนผูรับจัดการขนสงสินคาระหวางประเทศในองคกรธุรกิจไทยกับองคกรธุรกิจขามชาติ. วารสาร มฉก. วิชาการ 18 (35), 29-46.

อ่านบทความฉบับเต็ม

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa