SIDEBAR
»
S
I
D
E
B
A
R
«
ISBN กับงานห้องสมุด
พ.ค. 28th, 2016 by dussa

เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มีความสำคัญต่อวงการพิมพ์หนังสือทั่วโลก เนื่องจากมีการกำหนดใช้หมายเลขสากลเป็นรหัสประจำตัวของหนังสือแต่ละเล่ม ซึ่งทำให้เกิดเป็นมาตรฐานเดียวกัน ดังนั้น จะเห็นได้ว่า การพิมพ์หนังสือทุกเล่มในระยะหลังจะมีหมายเลข ISBN (ยกเว้น การพิมพ์ที่ไม่การขอเลข ISBN ก็จะทำให้หนังสือเล่มนั้น ไม่อยู่ระบบหรือฐานข้อมูลบรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ของประเทศนั้นๆ และทำให้ไม่สามารถควบคุมบรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นในประเทศได้)

ISBN ย่อมาจาก International Standard Book Number หมายถึง เลขรหัสสากลที่กำหนดขึ้นใช้สำหรับสิ่งพิมพ์ มีความมุ่งหมายที่จะให้เป็นเอกลักษณ์ของหนังสือแต่ละเล่ม มีการ ISBN จึงมีประโยชน์เป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน Read the rest of this entry »

ห้องสมุดยุคใหม่ (Modern Library)
พ.ค. 25th, 2016 by sirinun

ห้องสมุดยุคใหม่ (Modern Library)

ห้องสมุดยุคใหม่ (Modern Library)

ปัจจุบันห้องสมุดยุคใหม่มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหาร จัดการ มีการบริหารงานแบบใหม่ มีสารสนเทศหลายรูปแบบ เพื่อให้บริการเข้าถึงสารสนเทศตามความต้องการของผู้ใช้บริการ และมีการจัดบรรยากาศห้องสมุดให้สวยงาม และน่ารื่นรมย์ ตลอดจนมีบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุดคอยให้คำปรึกษาอย่างเป็นมิตร หนังสือ ห้องสมุดยุดใหม่ (Modern Library) เป็นหนังสือประกอบการเรียนการสอนสำหรับนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีที่ศึกษาในรายวิชาสารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า และเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจในสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์โดยทั่วไป เนื้อหากล่าวถึงห้องสมุดยุคใหม่ การใช้ห้องสมุดและการให้บริการสารสนเทศ การค้นหาสารสนเทศออนไลน์และสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต ผู้อ่านสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมากมาย หมวดหมู่ Z678.9 พ247ห 2557

รายการอ้างอิง

พรพรรณ จันทร์แดง. (2557). ห้องสมุดยุคใหม่ (Modern Library). กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

 

 

การศึกษาเปรียบเทียบงานประพันธ์ร้อยแก้วของเมิ่งลี่และโหยวจิน
พ.ค. 24th, 2016 by rungtiwa

การศึกษาเปรียบเทียบงานประพันธ์ร้อยแก้วของเมิ่งลี่และโหยวจิน

ภัทรสุดา ภาระพันธ์. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบงานประพันธ์ร้อยแก้วของเมิ่งลี่และโหยวจิน. ศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 10(20), 1-10.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะเด่นหัวข้อและประเด็นหัวเรื่อง ร้อยแก้วของโหยวจิน นักเขียนชาวสิงคโปร์
พ.ค. 19th, 2016 by rungtiwa

ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะเด่นหัวข้อและประเด็นหัวเรื่อง ร้อยแก้วของโหยวจิน นักเขียนชาวสิงคโปร์

论尤今散文的题材和主题特点

 

พรทิพย์ ล้ำวีระประเสริฐ. (2558). ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะเด่นหัวข้อและประเด็นหัวเรื่อง ร้อยแก้วของโหยวจิน นักเขียนชาวสิงคโปร์. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์  10 (19), 36-45.

อ่านบทความฉบับเต็ม

วิเคราะห์ภาพลักษณ์สตรีจากนิยายเรื่อง “กบ” ของม่อ เหยียน
พ.ค. 19th, 2016 by rungtiwa

วิเคราะห์ภาพลักษณ์สตรีจากนิยายเรื่อง “กบ” ของม่อ เหยียน

论莫言小说《蛙》中的女性形象

อันนา อนันต์เจริญวัฒน์. (2558). วิเคราะห์ภาพลักษณ์สตรีจากนิยายเรื่อง “กบ” ของม่อ เหยียน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์  10 (19), 25-35.

อ่านบทความฉบับเต็ม

การศึกษาเชิงคติชนวิทยา : การตั้งชื่อคลองและชื่อบ้านในเขตอำ เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
พ.ค. 19th, 2016 by rungtiwa

การศึกษาเชิงคติชนวิทยา : การตั้งชื่อคลองและชื่อบ้านในเขตอำ เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

A Study of Folklore: A Determinant of Names of the Canals and Villages in Bangplee District, Samutprakarn

 

พรรณศิริ แจ่มอรุณ วุฒิพงษ์ ทองก้อน และกชพร ขวัญทอง. (2558). การศึกษาเชิงคติชนวิทยา : การตั้งชื่อคลองและชื่อบ้านในเขตอำ เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์  10 (19), 14-24.

อ่านบทความฉบับเต็ม

การศึกษาภาพลักษณ์ของพ่อในนวนิยายเรื่อง “จดหมายจากเมืองไทย”
พ.ค. 19th, 2016 by rungtiwa

การศึกษาภาพลักษณ์ของพ่อในนวนิยายเรื่อง “จดหมายจากเมืองไทย”

《南风吹梦》中的父亲形象研究

 

Nong Yi. (2557). การศึกษาภาพลักษณ์ของพ่อในนวนิยายเรื่อง “จดหมายจากเมืองไทย” . วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์  9 (18), 27-38.

อ่านบทความฉบับเต็ม

วิเคราะห์บทประพันธ์ร้อยแก้วของหลิน ไท่เซิน
พ.ค. 19th, 2016 by rungtiwa

วิเคราะห์บทประพันธ์ร้อยแก้วของหลิน ไท่เซิน

林太深散文创作研究

 

ลดาวัลย์ แพรสุวัฒน์ศิลป์. (2557). วิเคราะห์บทประพันธ์ร้อยแก้วของหลิน ไท่เซิน. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 9 (18), 16-26.

อ่านบทความฉบับเต็ม

การจัดการแหล่งทางประวัติศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวทางมรดกวัฒนธรรม กรณีศึกษา : ชุมชนตลาดร้อยปีคลองสวน จ.สมุทรปราการ – ฉะเชิงเทรา
พ.ค. 19th, 2016 by rungtiwa

การจัดการแหล่งทางประวัติศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวทางมรดกวัฒนธรรม กรณีศึกษา : ชุมชนตลาดร้อยปีคลองสวน จ.สมุทรปราการ – ฉะเชิงเทรา

Management of Historic Site for Cultural Heritage Tourism: Case Study of Klong Suan 100 Years Market Community, Chachoengsao – Samutprakan Provinces

 

พันธุ์รวี ณ ลำพูน. (2557). การจัดการแหล่งทางประวัติศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวทางมรดกวัฒนธรรม กรณีศึกษา : ชุมชนตลาดร้อยปีคลองสวน จ.สมุทรปราการ – ฉะเชิงเทรา. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์  9 (18), 1-15.

อ่านบทความฉบับเต็ม

การจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา : การประเมินผลและการศึกษาหาแนวทางใหม่
พ.ค. 18th, 2016 by rungtiwa

การจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา : การประเมินผลและการศึกษาหาแนวทางใหม่

Welfare and Safety Arrangement for Teachers and Educational Personnel : Evaluation and Study for New Trends

กิตติพงษ์ พุ่มพวง และพัชรินทร์ บูรณะกร. (2557). การจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา : การประเมินผลและการศึกษาหาแนวทางใหม่. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์  9 (17), 13-24.

อ่านบทความฉบับเต็ม

 

»  Substance:WordPress   »  Style:Ahren Ahimsa